ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาว- ธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรม ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ ทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง และเป็นอารมณ์ของกิเลส เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรม ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ ของกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิด ขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๒] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัย สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ ของกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรม ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิด ขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ ทำให้เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง และไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรม ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและ ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรม ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็น อารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กิเลส ทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) (พึงจำแนกเหมือนกุสลติกะ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ
นเหตุปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาว- ธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรม ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ (ย่อ) (พึงจำแนกเหมือนในกุสลติกะ)
สุทธนัย
[๕] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๖ วาระ ฯลฯ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (ย่อ)
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๒๒ วาระ (ย่อ)
ปฏิจจวาร จบ
(พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวารและสัมปยุตตวารให้ พิสดาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๗๙}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๘๗๕-๘๗๙. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=40&siri=178              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=40&A=19944&Z=20005                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1660              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1660&items=8              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12711              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1660&items=8              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12711                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.6/en/narada



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :