ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) [๗๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เหตุที่ต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เหตุที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๙๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เหตุที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ กฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดี เพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง เกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้น ราคะที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัส ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉาจึง เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค โทมนัสที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคย เกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๙๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๗๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิด เพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน ราคะนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น เพราะ ปรารภโทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรค เบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลิน ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินราคะ นั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา จึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้นเพราะปรารภ อุทธัจจะ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคจึงเกิดขึ้นเพราะปรารภโทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โทมนัสที่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งละได้แล้ว พิจารณา กิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง บน ๓ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่ง พร้อมด้วยจิตที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติ- ญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๓) [๗๓] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณา {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๙๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

กุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระ อริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผลและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคล เห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่ วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย อารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน แล้วยินดีเพลิดเพลินฌาน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อม โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีความเดือดร้อน ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินโสตะ ฯลฯ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๙๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรค ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง เกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดี เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ ความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย (๓) [๗๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรค เบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะ นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง เกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๔) [๗๖] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พระอริยะออกจาก มรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัย แก่โคตรภู โวทาน มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิด เพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดี เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิด เพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง บน ๓ จึงเกิดขึ้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ บุคคลยินดีเพลิดเพลิน ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น (๓)
อนันตรปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรค เบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็น ปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็น ปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญา- นาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ อาวัชชนจิตเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตร- ปัจจัย (๓)
สมนันตรปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตร- ปัจจัย)
สหชาตปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยสหชาตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูต- รูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย สหชาตปัจจัย (๑)
อัญญมัญญปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
นิสสยปัจจัย
[๘๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนิสสยปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสย- ปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๘๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง บน ๓ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย นิสสยปัจจัย (๒)
อุปนิสสยปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค แล้วฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรค ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค แล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำ สมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) [๘๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้อง บน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูป- นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความ ปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอำนาจความ พอใจในสิ่งของของตนเป็นปัจจัยแก่ความยินดีด้วยอำนาจความพอใจในสิ่งของของ คนอื่นโดยอุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอำนาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของตน เป็นปัจจัยแก่ความยินดีด้วยอำนาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของคนอื่นโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้นอาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๘๕] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้ เกิดขึ้น อาศัยศีล ...สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา ... สุตะ ... ศีล ... จาคะ ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วถือทิฏฐิอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๐๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วมีมานะ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาโดย อุปนิสสยปัจจัย (๓)
ปุเรชาตปัจจัย
[๘๖] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

จึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุ นั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา จึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น ยินดี เพลิดเพลินโสตะ ฯลฯ กาย ... รูป ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ เพราะปรารภ ความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรค เบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๘๗] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

อย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย ปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาต- ปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๘๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย ฯลฯ ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย ฯลฯ ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวน- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย ฯลฯ ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ... โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ... โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
กัมมปัจจัย
[๘๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมม- ปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่างคือ สหชาตะและนานาขณิกะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิ- ขณะ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูป ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
วิปากปัจจัย
[๙๐] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปาก- ปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๙๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาหารปัจจัย (ย่อ) กวฬิงการาหาร มี ๗ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ ฯลฯ มี ๗ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย
วิปปยุตตปัจจัย
[๙๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (แม้บทนี้ก็เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มี อย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

อัตถิปัจจัย
[๙๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มเหมือนกับบทว่าโสดา- ปัตติมรรค) [๙๔] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิ- ขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดย อัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... กาย ... รูป ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ- โสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัย แก่กายนี้ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความยินดีเพลิด เพลินจักษุนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิด เพลินโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ จึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลิน โสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรค เบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย (๓) [๙๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัยมี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูปเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและกวฬิงการา- หารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ)
นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย
[๙๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๙๗] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๘ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๙๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุป- นิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๑๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาต- ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยสหชาตปัจจัย (๓) [๙๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัยและ อุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ โดยสหชาตปัจจัย (๔) [๑๐๐] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัยและอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสย- ปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๒๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๓) [๑๐๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรค มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระและอินทรียะ (๒) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑) สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระและอินทรียะ (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๑๐๒] นเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๒๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๑๔ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑๔ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑๔ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๑๐๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอัญญมัญญปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๑๐๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๘ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๗. ปัญหาวาร

นิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๘ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ทัสสเนนปหาตัพพติกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๒๔}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๑๙๖-๒๒๔. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=41&siri=13              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9], [10].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=41&A=4995&Z=5707                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=662              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=662&items=105              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=662&items=105                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :