ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่ง กระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัย โผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น อาโปธาตุ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบ ได้เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปซึ่งกระทบได้และกระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น จักขา- ยตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัย โผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๓) [๕๔] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่กระทบ ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูปที่กระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพา- ยตนะอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบได้และกระทบไม่ได้ อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๕๕] สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เกิด ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่กระทบไม่ได้และ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่ เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่กระทบได้และ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่ กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้อาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้และที่ กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบ ไม่ได้อาศัยขันธ์ที่กระทบไม่ได้ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กฏัตตารูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่กระทบไม่ได้ และอาศัยมหา- ภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบได้และ กระทบไม่ได้อาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๓)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๕๖] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕๗] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะ อธิปติปัจจัย (พึงเว้นปฏิสนธิและกฏัตตารูป) เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้ เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญ- ปัจจัย ได้แก่ อาโปธาตุ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓) [๕๘] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์ อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญ- ปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูปที่กระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (พึงเพิ่มมหาภูตรูปที่ เป็นภายในและภายนอกเหล่านี้เข้าด้วย) (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้ และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๕๙] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๓๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

ซึ่งกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้ อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหาร เป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) (สำหรับบทที่มีสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นมูล พึงเพิ่ม ๒ วาระนอกนี้ แม้ ในฆฏนาก็พึงเพิ่ม ๓ วาระ ทราบแล้วพึงเพิ่มมหาภูตรูปที่เป็นภายในและภายนอก ทั้งหมด)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๖๑] สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย (ย่อไว้ทั้งหมด) เพราะโนวิคตปัจจัย
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๖๒] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๖๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๖๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๖ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๒}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๒ หน้าที่ ๑๓๕-๑๔๒. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=42&siri=23              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=42&A=3825&Z=4033                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=220              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=42&item=220&items=10              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=42&item=220&items=10                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu42



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :