ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๒๑] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๒๖๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๒] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่ สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะจึง เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่ สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ อาสวะจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น อาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ อาสวะและขันธ์ที่ สัมปยุตด้วยอาสวะจึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็น อาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... เพราะอธิปติปัจจัย (พึงทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหมือนกับ อารัมมณปัจจัย) ... เพราะอนันตรปัจจัย (เหมือนกับอารัมมณปัจจัยนั่นเอง พึงเพิ่มคำว่า ที่ เกิดก่อนๆ ไว้) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๒๖๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

... เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย ... เพราะอุปนิสสยปัจจัย (เหมือนกับอารัมมณปัจจัยนั่นเอง ไม่มีการจำแนกไว้ มี ๓ วาระ พึงเพิ่มอุปนิสสยปัจจัยทั้งหมด)
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น ปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๒๔] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๒๗๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๒๕] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ อุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต ด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย- ปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น อาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๑๒๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ อุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น อาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย- ปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๒๗๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดย อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๑๒๗] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดย อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็น อาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณ- ปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็น อาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะ แต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๒๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ) โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๑๒๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๒๗๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๙. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นมัคคปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๑๓๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (พึงนับบทที่เป็นอนุโลม) ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๒ หน้าที่ ๒๖๘-๒๗๓. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=42&siri=48              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=42&A=7381&Z=7502                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=409              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=42&item=409&items=8              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=42&item=409&items=8                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu42



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :