บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๑๐๒] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานและสัมปยุต ด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (๓) [๑๐๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน แต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (๓) [๑๐๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตด้วยอุปาทานและที่สัมปยุตด้วย อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วย อุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอุปาทาน สัมปยุตด้วยอุปาทาน และที่ สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทาน สัมปยุตด้วยอุปาทาน และที่สัมปยุตด้วย อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่ เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานสัมปยุตด้วยอุปาทาน และที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่ เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๔๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย [๑๐๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอุปาทาน อุปาทานจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภ อุปาทาน ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่ เป็นมูล) เพราะปรารภอุปาทาน อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่ เป็นอุปาทานจึงเกิดขึ้น (พึงทำให้เป็น ๓ วาระ ในฆฏนา ก็พึงทำให้เป็น ๓ วาระด้วย)อธิปติปัจจัย [๑๐๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (๓) สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ (มี ๓ วาระ แม้ใน ๓ วาระก็พึงเพิ่มอธิปติปัจจัย ทั้ง ๒ แม้แต่อธิปติปัจจัยที่เป็นฆฏนา ก็มี ๓ วาระ)อนันตรปัจจัย [๑๐๗] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานที่ เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงทำเป็น ๙ วาระ อย่างนี้ ไม่มีทั้งอาวัชชนจิต และวุฏฐานะ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๔๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น [๑๐๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระอุปนิสสยปัจจัย [๑๐๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย (มี ๓ วาระ แม้แต่ในอุปนิสสยปัจจัยที่เป็นฆฏนา ก็มี ๓ วาระ) เป็นปัจจัยโดย อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระกัมมปัจจัยเป็นต้น [๑๑๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๔๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๑๑๑] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๔๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ๒. ปัจจนียุทธาร [๑๑๒] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ อุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นอุปาทาน สัมปยุตด้วยอุปาทาน และที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (พึงทำเป็น ๙ วาระแม้ อย่างนี้ ในมูลแห่งปัจจัยแต่ละปัจจัยมีมูลละ ๓ วาระ)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร [๑๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ) โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๔๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๔. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ [๑๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ) นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม [๑๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา)อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ จบ เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๓๔๔-๓๔๙. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=43&siri=56 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=43&A=7735&Z=7870 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=465&items=12 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=465&items=12 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]