ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๑ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
๓๑. คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ ๑. กุสลติกะ
๑ - ๗. ปฏิจจวารเป็นต้น
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย
[๓๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นกุศล อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นกุศลอาศัย สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย (๑) (ย่อ) [๓๙] เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (ย่อ) (พึงขยายสหชาตวาร ฯลฯ ปัญหาวารให้พิสดารทุกปัจจัย) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๑๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๓๑. คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ ๑. กุสลติกะ

[๔๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นอกุศล อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นอกุศลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (ย่อ) [๔๑] เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ) (สหชาตวาร ฯลฯ ปัญหาวาร ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) [๔๒] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็น อัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็น อัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นอัพยากฤต อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นอัพยากฤต อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะและที่วิปปยุตจาก คันถะไม่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๑) (ย่อ) [๔๓] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (ย่อ) (พึงขยายสหชาตวาร ฯลฯ สัมปยุตตวารให้พิสดารเหมือนกับปฏิจจวาร) [๔๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็น อัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็น อัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะและไม่เป็นอารมณ์ของคันถะซึ่งเป็น อัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๑๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]

๓๑. คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ ๑. กุสลติกะ

[๔๕] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ) อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ (ย่อ) [๔๖] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ (ย่อ) นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ (ย่อ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนอนุโลม ปัจจนียะ อนุโลมปัจจนียะ และปัจจนียานุโลมแห่ง ปัญหาวารในกุสลติกะที่นับไว้แล้ว)
คันถโคจฉกะและกุสลติกะ จบ
(โอฆโคจฉกะและโยคโคจฉกะ เหมือนกับอาสวโคจฉกกุสลติกะ)
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๑๙}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๔ หน้าที่ ๓๑๗-๓๑๙. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=44&siri=52              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=44&A=6787&Z=6833                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=1333              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=44&item=1333&items=11              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=44&item=1333&items=11                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu44



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :