ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. เวทนาติกะ

พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลมปัจจนียะ ติกติกปัฏฐาน
__________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๑. กุสลติกะ ๑. เวทนาติกะ
[๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น กุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น กุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๔๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. เวทนาติกะ

สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
ปัจจนียะ - นเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ [๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ เป็นกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น กุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๔๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. เวทนาติกะ

[๔] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ นฌานปัจจัย มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) (สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวารเหมือนกับ ปฏิจจวาร) [๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยเหตุปัจจัย ฯลฯ เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑๘ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ สหชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๘ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๔๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๑. เวทนาติกะ

มัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ (พึงขยายปัญหาวารให้พิสดาร)
อกุสลบท - เหตุปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นอกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ สหชาตปัจจัย มี ๘ วาระ ฯลฯ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ฌานปัจจัย มี ๕ วาระ มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ
อัพยากตบท - ปัจจนียะ
[๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๔๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๒. วิปากติกะ

สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (ย่อ) นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ฯลฯ นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ นฌานปัจจัย มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงขยายสหชาตวาร ฯลฯ ปัญหาวารให้พิสดาร) [๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ (ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๕ หน้าที่ ๔๒๗-๔๓๑. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=45&siri=88              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=45&A=6826&Z=6904                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45&i=1234              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=45&item=1234&items=16              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=45&item=1234&items=16                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu45



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :