ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
             [๑๙๖๙]	ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ฯลฯ
                          ในปัจจัยทั้งปวง	กับ ฯลฯ		 มี "      ๓
                          ในอวิคตปัจจัย	กับ ฯลฯ		 มี "      ๓
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
สหชาตวารก็ดี ปัจจนียวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี
สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๑๙๗๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย [๑๙๗๑] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย เหตุปัจจัย [๑๙๗๒] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๑๙๗๓] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอตีตธรรม พิจารณาเนวสัญญานาสัญญยตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุส- *สติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมุปคญาณ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอตีตารัมมณธรรมกิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ ขันธ์นั้น ราคะ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๔] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคตธรรม พิจารณาเนวสัญญานาสัญญา- *ยตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๕] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย- *ญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๖] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมปัจจัย [๑๙๗๗] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม พิจารณากิเลส ที่ข่มแล้ว กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๘] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตา- *รัมมณธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต- *ปริยญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๙] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนรัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุป- *ปันนารัมมณธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ เจโตปริยญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๘๐] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอตีตธรรม พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิ- *วิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม กิเลสที่ข่ม แล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๘๑] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอนาคตธรรม พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิ วิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะ ปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๘๒] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอดีตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ กระทำยถากัมมุปคญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๙๘๓] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคต ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ กระทำอิทธิวิธญาณ ที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่ง เป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ กระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๘๔] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็น อนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๙๘๕] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตา- *รัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้น ให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๘๖] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๙๘๗] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำทิพพจักขุที่เป็นอตีตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำทิพพโสตธาตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำเจโตปริยญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๘๘] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำทิพพจักขุที่เป็นอนาคตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำทิพพโสตธาตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็น อนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๘๙] อตีตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๑] อตีตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ จุติจิตที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณ- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๒] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๓] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม เจโตปริยญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม อนาคตังสญาณ เป็นปัจจัย แก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏ- *ฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๔] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณ- *ธรรม ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๙๕] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม โดยอนันตร ปัจจัย [๑๙๙๖] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย [๑๙๙๗] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อัญญมัญญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย แม้ทั้ง ๓ ปัจจัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร [๑๙๙๘] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยสมนัตรปัจจัย เหมือน อนันตรปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขา- *นุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ- *ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๙๙๙] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขานุ- *ปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๑] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๒] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๓] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่ อนิจจานุปัสสนา ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๔] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดย อุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๕] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๖] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๐๗] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๒๐๐๘] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอาเสวน- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๒๐๐๙] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๒๐๑๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๑] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๒] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๓] อนาคตรัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๔] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๕] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๖] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๗] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๘] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๐๑๙] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยวิปากปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อัตถิปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย นัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย [๒๐๒๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มีวาระ ๓ ในนิสสยปัจจัย มีวาระ ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๓ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๒๐๒๑] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๒] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๓] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๔] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๕] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๖] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๗] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย โดยเป็นปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๘] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๒๙] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๒๐๓๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๙ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๒๐๓๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๒๐๓๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
อตีตารัมมณัตติกะ ที่ ๑๙ จบ
-----------------------------------------------------
อัชฌัตตัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๒๐๓๓] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุมหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๒๐๓๔] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๒๐๓๕] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัย- *วัตถุ [๒๐๓๖] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ [๒๐๓๗] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๒๐๓๘] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๒๐๓๙] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุมหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลายอาศัยมหาภูตรูป ๑ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหา- *ภูตรูปทั้งหลาย [๒๐๔๐] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุอาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐาน- *รูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย อาศัยมหาภูตรูป ๑ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย [๒๐๔๑] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ก็ดี ในอาเสวนปัจจัย ก็ดี ปฏิสนธิ ไม่มี เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ อินทริย- *ปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตต- *ปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย [๒๐๔๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี " ๒
อนุโลม จบ
[๒๐๔๓] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๒๐๔๔] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรมซึ่งเป็นอเหกุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย อาศัยมหาภูตรูป ๑ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๒๐๔๕] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรมหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ทั้งหลาย อาศัยมหาภูตรูป ๑ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวก อสัญญสัตว์ทั้งหลายอาศัยมหาภูตรูป ๑ [๒๐๔๖] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม หทัยวัตถุ อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๒๐๔๗] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ สหชาตปัจจัย ในอนุโลมไม่มีแตกต่างกัน ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๒๐๔๘] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ในปฏิสนธิขณะ พึงใส่ให้เต็ม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๒๐๔๙] อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะ อาเสวนปัจจัย ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาหารสมุฏ- *ฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ [๒๐๕๐] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ [๒๐๕๑] อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย คือ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๒๐๕๒] อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๒๐๕๓] อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย คือ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๒๐๕๔] อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญ- *สัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๒๐๕๕] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวก อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๒๐๕๖] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๒๐๕๗] อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย เหมือนกับที่ไม่ใช่ เหตุปัจจัย โมหะ ไม่มี ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ ทั้งหลาย ฯลฯ [๒๐๕๘] อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๒๐๕๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๒ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๒๐๖๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๒๐๖๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
สหชาตวาร เหมือนกับ ปฏิจจวาร
ปัจจยวาร
[๒๐๖๒] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงใส่ให้เต็ม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ [๒๐๖๓] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัยหทัยวัตถุ [๒๐๖๔] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น อัชฌัตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ [๒๐๖๕] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาร คือ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัย หทัยวัตถุ [๒๐๖๖] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย เพิ่ม หทัยวัตถุ เหมือนกับปฏิจจวาร เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย ในสหชาตวาร พึงใส่ให้เต็ม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ภายหลัง มหาภูตรูปและขันธ์ทั้งหลาย พึงกระทำ ปัญจายตนะ และหทัยวัตถุ เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะ อวิคตปัจจัย [๒๐๖๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี " ๒
อนุโลม จบ
[๒๐๖๘] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และหทัยวัตถุ [๒๐๖๙] พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย พึง กระทำทั้งปวัตติ ปฏิสนธิ และมหาภูตรูปทั้งหลาย คือ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย ไม่ใช่เพราะกัมม- *ปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย เหมือนกับ วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิจจวารปัจจนียะ ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๒๐๗๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๒ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๒
ปัจจนียะ จบ
[๒๐๗๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๒๐๗๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
ปัจจนียานุโลม จบ
นิสสยวาร เหมือนกับ ปัจจยวาร
สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงให้พิสดาร
ปัญหาวาร
[๒๐๗๓] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๒๐๗๔] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๒๐๗๕] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา กุศลกรรมนั้น กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน จักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ กาย รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ พิจารณา เห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย อากิญ- *จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๒๐๗๖] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลอื่น พิจารณาเห็นจักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ หทัยวัตถุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยเจโตปริยญาณ รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โผฏ- *ฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณ- *ปัจจัย [๒๐๗๗] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลอื่น ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลกรรมนั้น พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ผล ฯลฯ พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคย เกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ บุคคลอื่น พิจารณาเห็นจักขุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นพหิทธาธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญ- *ญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๒๐๗๘] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย จักขุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาต บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม โดยเจโตปริยญาณ รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม โผฏ- *ฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณ- *ปัจจัย [๒๐๗๙] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา กระทำกุศลกรรม ทั้งหลาย ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา จักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัชฌัตตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ จักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๒๐๘๐] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลอื่น จักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อม ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๒๐๘๑] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลอื่นให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย จักขุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น พหิทธาธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ จักขุเป็นต้นนั้นให้หนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๒๐๘๒] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย จักขุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น พหิทธาธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ จักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๒๐๘๓] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัชฌัตตธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่ มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ฯลฯ อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๒๐๘๔] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ที่เกิดก่อนๆ เท่านี้ที่ต่างกัน นอกจากนั้นมี อธิบายตามบาลีข้างต้นนั้นเอง [๒๐๘๕] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เหมือน กับ อนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัย โดย นิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรมแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความ ปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๘๖] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม แก่ มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๘๗] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๘๘] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๘๙] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยปุเรชาต- *ปัจจัย [๒๐๙๐] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลอื่น จักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โผฏฐัพ- *พายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๐๙๑] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลอื่น จักขุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ ที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โผฏฐัพ- *พายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๐๙๒] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยปุเรชาต- *ปัจจัย [๒๐๙๓] อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ได้แก่รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และจักขายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และ กายายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม รูปายตนะที่เป็น พหิทธาธรรม และหทัยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และ หทัยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๐๙๔] อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ได้แก่รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และจักขายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และ กายายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ แก่โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และหทัยวัตถุ ที่เป็น พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะที่เป็น อัชฌัตตธรรม และหทัยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๐๙๕] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๒๐๙๖] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๒๐๙๗] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัชฌัตตธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๒๐๙๘] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เหมือนกับ อัชฌัตต นั่นเอง [๒๐๙๙] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๒๑๐๐] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น พหิทธาธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๒๑๐๑] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยวิปากปัจจัย พึงใส่ให้ เต็ม เหมือนกับ ปฏิจจวาร [๒๑๐๒] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ- *ฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยอาหารปัจจัย [๒๑๐๓] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม โดย อาหารปัจจัย [๒๑๐๔] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอาหารปัจจัย พึงกระทำ ปวัตติ ปฏิสนธิ กวฬิงการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยอาหารปัจจัย [๒๑๐๕] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดย อาหารปัจจัย [๒๑๐๖] อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดย อาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรมเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น อัชฌัตตธรรม โดยอาหารปัจจัย [๒๑๐๗] อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดย อาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกวฬิงการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยอาหารปัจจัย [๒๑๐๘] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอินทริยปัจจัย อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ก็ดี รูปชีวิตินทรีย์ ก็ดี พึงให้พิสดาร เป็นปัจจัยโดย ฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต บทมาติกาทั้งหลาย ผู้มีปัญญา พึงให้พิสดาร [๒๑๐๙] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ [๒๑๑๐] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่ มหาภูตรูป ๓ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ เหมือนกับ ปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกวฬิงการาหารที่เป็น อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย [๒๑๑๑] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาต อาหาร ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลอื่นพิจารณาเห็นจักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น พหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น พหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๒๑๑๒] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย พหิทธาธรรมไม่มีอะไรแตกต่างกัน บทมาติกาทั้งหลาย พึงให้พิสดาร [๒๑๑๓] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาต อาหาร ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น อัชฌัตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่เป็นพหิทธาธรรมเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตต- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๒๑๑๔] อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาต อาหาร ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และจักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และกายายตนะ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น อัชฌัตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะ ที่เป็นพหิทธาธรรม และหทัยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็น พหิทธาธรรม และหทัยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น อาหาร ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๒๑๑๕] อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาต อาหาร ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และจักขายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกายายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และหทัยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นพหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และหทัยวัตถุที่เป็น พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น อาหาร ได้แก่ กวฬิงการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกวฬิงการาหารที่เป็น พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๒๑๑๖] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย โดย วิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย [๒๑๑๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในอธิปติปัจจัย มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย มี " ๒ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๒ ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ในนิสสยปัจจัย มีวาระ ๒ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจฉาชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมมปัจจัย ในวิปากปัจจัย มีวาระ ๒ ในอาหารปัจจัย มี " ๖ ในอินทริยปัจจัย มี " ๒ ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๒ ในอัตถิปัจจัย มี " ๖ ในนัตถิปัจจัย มี " ๒ ในวิคตปัจจัย มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย มี " ๖
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๒๑๑๘] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย [๒๑๑๙] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย [๒๑๒๐] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย [๒๑๒๑] พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย [๒๑๒๒] อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาต อาหาร [๒๑๒๓] อัชฌัตตธรรมและพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ ปุเรชาต อาหาร [๒๑๒๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๖ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวงพึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๔
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๒๑๒๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๒๑๒๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔
พึงกระทำการนับบทที่เป็นอนุโลม
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๖
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
อัชฌัตตัตติกะ ที่ ๒๐ จบ
-----------------------------------------------------
อัชฌัตตารัมมณัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๒๑๒๗] อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๒๑๒๘] พหิทธารัมมณธรรม อาศัยพหิทธารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๒๑๒๙] อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย [๒๑๓๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๒๑๓๑] อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๒๑๓๒] พหิทธารัมมณธรรม อาศัยพหิทธารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๒๑๓๓] อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในอนุโลมไม่มีแตกต่างกัน ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๒๑๓๔] พหิทธารัมมณธรรม อาศัยพหิทธารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ในปฏิสนธิ ขณะ ฯลฯ ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม [๒๑๓๕] พหิทธารัมมณธรรม อาศัยพหิทธารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ กัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม [๒๑๓๖] อาศัยอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งสหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ [๒๑๓๗] อาศัยพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ซึ่งสหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย เหมือนกับที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย โมหะไม่มี ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ [๒๑๓๘] อาศัยพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ [๒๑๓๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๒๑๔๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๒๑๔๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี
สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๒๑๔๒] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยเหตุ- *ปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย [๒๑๔๓] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๒๑๔๔] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม พิจารณาเนวสัญญานา- *สัญญายตนะ พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม และอัชฌัตตธรรม ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ พิจารณา อนาคตังสญาณ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม พิจารณากิเลสที่ ข่มแล้ว กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็น อัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปุพเพ- *นิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๒๑๔๕] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลอื่น วิญญาณัญจายตนะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ พิจารณา เนวสัญญานาสัญญายตนะ บุคคลอื่นพิจารณาทิพพจักขุ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตา- *รัมมณธรรม ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปค- *ญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณ- *ธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย- *ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๒๑๔๖] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลอื่นพิจารณาทิพพจักขุที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ บุคคลอื่นพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณ- *ธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย [๒๑๔๗] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน บุคคลออกจากฌาน พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละแล้ว กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปค- *ญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็น อัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย [๒๑๔๘] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำเนวสัญญานา- *สัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำทิพพจักขุที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม และ อัชฌัตตธรรมให้หนักแน่น ฯลฯ ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรมให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๒๑๔๙] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๒๑๕๐] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถ กรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค มรรค ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำทิพพจักขุที่เป็นอัชฌัตตธรรมซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ บุคคลกระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็น อัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๒๑๕๑] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๒๑๕๒] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ จุติจิตที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย ภวังค์ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๒๑๕๓] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ผล เป็นปัจจัย แก่ผล อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๒๑๕๔] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ จุติจิตที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณ- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย ภวังค์ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอัชฌัตตาธัมมณธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๒๑๕๕] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยสมนันตร- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม แก่ ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๑๕๖] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม แก่ ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๑๕๗] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๑๕๘] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๑๕๙] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยอาเสวน- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๒๑๖๐] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอาเสวน- *ปัจจัย คือ อนุโลมที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ โวทาน โดยอาเสวนปัจจัย [๒๑๖๑] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยอาเสวน- *ปัจจัย คือ อนุโลมที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๒๑๖๒] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๑๖๓] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๑๖๔] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๑๖๕] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๒๑๖๖] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยวิปาก- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ฌาน- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อัตถิ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย นัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย [๒๑๖๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสหชาตปัจจัย มี " ๒ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๒ ในนิสสยปัจจัย มี " ๒ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๔ ในวิปากปัจจัย มี " ๒ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๒ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในวิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๒ ในอัตถิปัจจัย มี " ๒ ในนัตถิปัจจัย มี " ๔ ในวิคตปัจจัย มี " ๔ ในอวิคตปัจจัย มีวาระ ๒
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๒๑๖๘] อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดย กัมมปัจจัย

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๑๓๕๘๘-๑๔๘๕๙ หน้าที่ ๕๗๗-๖๓๐. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=13588&Z=14859&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=41&item=1969&items=347              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=41&item=1969&items=347&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=41&item=1969&items=347              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=41&item=1969&items=347              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1969              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41 https://84000.org/tipitaka/english/?index_41

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]