ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
กิเลสทุกะ
ปฏิจจวาร
[๔๗๙] ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ ทิฏฐิ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ มานะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ มานะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโทสะ โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโทสะ โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยวิจิกิจฉา โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยอุทธัจจะ. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกิเลสธรรม ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะ.
พึงกระทำจักรนัย.
ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูต- *รูป ๑ ฯลฯ ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือกิเลสธรรม ทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และกิเลสธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ กิเลส ขันธ์ ๒ ฯลฯ. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย.
พึงกระทำจักรนัย.
ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และกิเลสธรรม ทั้งหลาย ขันธ์ ๓ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสธรรมและมหาภูตรูปทั้งหลาย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และจิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และโลภะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พึงกระทำจักรนัย.
ฯลฯ
[๔๘๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๔๘๑] ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ อาศัยวิจิกิจฉา โมหะ อาศัยอุทธัจจะ. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเหตุกปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ วิจิกิจฉา โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอุทธัจจะ. [๔๘๒] ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสธรรมทั้งหลาย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ตลอดถึงอสัญญสัตว์. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยทั้งกิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย. [๔๘๓] ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ ทิฏฐิ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ มานะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ มานะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ. โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยวิจิกิจฉา โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยอุทธัจจะ. ในอรูปภูมิ ที่มีโทสะ เป็นมูล ไม่มี. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยกิเลสธรรมทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสธรรมทั้งหลาย.
วาระทั้ง ๙ พึงกระทำอย่างนี้.
ฯลฯ ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย. [๔๘๔] ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยกิเลสธรรมทั้งหลาย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏ- *ฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยกิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
ปัจจัยทั้งปวง พึงกระทำอย่างนี้.
[๔๘๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓.
การนับทั้งสอง นอกจากนี้ก็ดี สหชาตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๗๘๙๗-๘๐๒๑ หน้าที่ ๓๑๐-๓๑๔. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=7897&Z=8021&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=43&item=479&items=7              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=43&item=479&items=7&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=43&item=479&items=7              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=43&item=479&items=7              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=479              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ https://84000.org/tipitaka/read/?index_43 https://84000.org/tipitaka/english/?index_43

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]