![]() |
|
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
![]() |
![]() |
๙. ทุติยอภัพพัฏฐานสูตร ว่าด้วยฐานะที่ไม่อาจเป็นได้ สูตรที่ ๒ [๙๓] ภิกษุทั้งหลาย ฐานะที่ไม่อาจเป็นได้ ๖ ประการนี้ ฐานะที่ไม่อาจเป็นได้ ๖ ประการ อะไรบ้าง คือ บุคคลผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ ๑. เป็นผู้ไม่อาจยึดถือสังขารว่าเป็นของเที่ยง ๒. เป็นผู้ไม่อาจยึดถือสังขารว่าเป็นสุข ๓. เป็นผู้ไม่อาจยึดถือธรรมว่าเป็นอัตตา ๔. เป็นผู้ไม่อาจทำอนันตริยกรรม๓- ๕. เป็นผู้ไม่อาจเชื่อความบริสุทธิ์โดยถือมงคลตื่นข่าว๔- ๖. เป็นผู้ไม่อาจแสวงหาเขตบุญนอกศาสนานี้ ภิกษุทั้งหลาย ฐานะที่ไม่อาจเป็นได้ ๖ ประการนี้แลทุติยอภัพพัฏฐานสูตรที่ ๙ จบ @เชิงอรรถ : @๑ เหตุที่ไม่ควรเข้าถึง ในที่นี้หมายถึงเวร ๕ ได้แก่ (ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ เสพของ @มึนเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นเหตุแห่งความประมาท) และทิฏฐิ ๖๒ ประการ @(องฺ.ฉกฺก.อ. ๓/๙๒-๙๕/๑๕๕) ดู ที.สี. (แปล) ๙/๒๘-๑๔๖/๑๑-๔๖ ประกอบ @๒ ภพที่ ๘ หมายถึงปฏิสนธิที่ ๘ ในชั้นกามาวจร (ผู้ได้โสดาบันจะถือปฏิสนธิไม่เกิน ๗ ครั้ง) @(องฺ.ฉกฺก.อ. ๓/๙๒-๙๕/๑๕๕) @๓ ดู อภิ.วิ. (แปล) ๓๕/๙๔๑/๕๙๕, องฺ.ฉกฺก.อ. ๓/๘๖/๑๕๕ @๔ ถือมงคลตื่นข่าว หมายถึงถือว่ารูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เป็นมงคล (องฺ.ฉกฺก.อ. ๓/๙๒-๙๕/๑๕๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๒ หน้า : ๖๑๗}
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๒๒ หน้าที่ ๖๑๗. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=22&siri=344 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=22&A=10317&Z=10325 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=22&i=364 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=22&item=364&items=1 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=22&item=364&items=1 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu22 อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://84000.org/tipitaka/english/metta.lk/22i356-e.php#sutta9 https://suttacentral.net/an6.93/en/sujato
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
![]() |
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]