ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุต ด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุข- เวทนาเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (อธิปติปัจจัยไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อาเสวนปัจจัยเป็นต้น
[๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุข- เวทนาเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกข์และ กายวิญญาณเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุข- เวทนาเกิดขึ้นเพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย หทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (ย่อ)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๕] ... เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๖] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
เหตุทุกนัยเป็นต้น
[๗] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย และอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

เหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ (พึงขยายให้พิสดารเหมือนการนับปัจจัยแห่งกุสลติกะ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุข- เวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกข์และ กายวิญญาณเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อเหตุกะซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอุทธัจจะเกิดขึ้น
นอธิปติปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุข- เวทนาเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ปฏิสนธิมีนอธิปติปัจจัยบริบูรณ์)
นปุเรชาตปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุข- เวทนาเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิด ขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
นปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย (นปัจฉาชาตปัจจัย และนอาเสวนปัจจัยต่างก็มีปฏิสนธิบริบูรณ์)
นกัมมปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยขันธ์ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยขันธ์ที่ สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข- เวทนาอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น
นวิปากปัจจัยและนฌานปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขและกายวิญญาณเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกข์และ กายวิญญาณเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ สหรคตด้วยจตุวิญญาณเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
นมัคคปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกข์และ กายวิญญาณเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อเหตุกะซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุข- เวทนาเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๖] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
นเหตุทุกนัย
[๑๗] นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
จตุกกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นวกนัย
นวิปปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาต- ปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย และนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ)
นอธิปติทุกนัย
[๑๘] นเหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (ย่อ)
นปุเรชาตทุกนัย
[๑๙] นเหตุปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวิปากปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ (ย่อ)
ทุกนัยมีนปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๒๐] นเหตุปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัย ... นอาเสวนปัจจัย ... และ นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนกัมมปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย กับนกัมมปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
ปัญจกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับนกัมมปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)
นวิปากทุกนัย
[๒๑] นเหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ ... กับนวิปากปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนกัมมปัจจัย)
นฌานทุกนัย
[๒๒] นเหตุปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
ฉักกนัย
นมัคคปัจจัย กับนฌานปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย และนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)
นมัคคทุกนัย
[๒๓] นเหตุปัจจัย กับนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนมัคคปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ปัญจกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับนมัคคปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)
นวิปปยุตตทุกนัย
[๒๔] นเหตุปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวกนัย
นมัคคปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย และนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ)
การนับปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๒๕] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ (พึงนับเหมือนกุสลติกะ)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๒๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ติกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ มัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ
จตุกกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
สัตตกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาต- ปัจจัย นอาเสวนปัจจัย และนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
ทสกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย และนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ (ย่อ)
นเหตุมูลกนัย จบ
นอธิปติทุกนัย
[๒๗] เหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปุเรชาตทุกนัย
[๒๘] เหตุปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (ย่อ)
ทุกนัยมีนปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๒๙] เหตุปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัย ... กับนอาเสวนปัจจัย ... กับ นกัมมปัจจัย ... กับนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ... มี ๓ วาระ (ย่อ)
นฌานทุกนัย
[๓๐] อารัมมณปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๕๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นมัคคทุกนัย
[๓๑] อารัมมณปัจจัย กับนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (ย่อ)
นวิปปยุตตทุกนัย
[๓๒] เหตุปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๒ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๖๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นัตถิปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ติกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ อาเสวนปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ มัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
ทสกนัย
อารัมมณปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย และนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๖๖๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๒. เวทนาติกะ ๔. นิสสยวาร

สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๖๔๑-๖๖๒. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=147              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=15078&Z=15595                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1077              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1077&items=61              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12533              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1077&items=61              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12533                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.3/en/narada



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :