บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๘] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย เหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็น อารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ ทำให้เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน รูปโดยเหตุปัจจัย (๓)อารัมมณปัจจัย [๙] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะจึง เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีทิฏฐิ ฯลฯ เพราะปรารภวิจิกิจฉา ฯลฯ เพราะปรารภอุทธัจจะ ฯลฯ เพราะปรารภโทมนัส ฯลฯ (๑) (พึงจำแนกเหมือนในกุสลติกะ) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กิเลสทำให้เศร้า หมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสด้วยเจโตปริยญาณ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งขันธ์ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่อกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่ออกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็น ตทารมณ์ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่เจโต- ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และ อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) [๑๐] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณา กุศลที่สั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน เห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็น แจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย ทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่ วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณเจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย อารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส จึงเกิดขึ้น ยินดีกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ยินดีฌาน ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
ยินดีจักษุ ... ยินดีเพลิดเพลินโผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้น นั้น ราคะจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระ อริยะรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็น อารมณ์ของกิเลสด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็น อารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังส- ญาณและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)อธิปติปัจจัย [๑๑] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึง เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะ ทำความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของ กิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของ กิเลสเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่ เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓) [๑๒] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่สั่งสมไว้ดีแล้วให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น พระเสขะพิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาโวทาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของ กิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มี อย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้ว ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดี เพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ออก จากฌานแล้ว ยินดีเพลิดเพลินฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
จักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินโผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มี๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณา นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดย อธิปติปัจจัย สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย [๑๓] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดย อนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตร- ปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อาวัชชนจิตเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดย อนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดหลังๆ โดย อนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)สมนันตรปัจจัยเป็นต้น [๑๔] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสย- ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะจึงฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฯลฯ อาศัยโทสะ จึงฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัย แก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ ปาณาติบาตโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ นิยตมิจฉาทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะจึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌาน ... วิปัสสนา ... ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ความปรารถนาจึงให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ สุขทางกายและทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย บุคคล ฆ่าสัตว์แล้ว ประสงค์จะลบล้างกรรมชั่วนั้นจึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ประสงค์จะลบล้างกรรมชั่วนั้น จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษา อุโบสถ กรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี อย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะจึงทำมรรคให้เกิดขึ้น เข้า ผลสมาบัติ อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาจึงทำมรรคให้เกิดขึ้น เข้าผลสมาบัติ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๑๕] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาจึงให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้ เกิดขึ้น อาศัยศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะ จึงให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ สุขทางกายและทุกข์ทางกายโดย อุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรม- ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา- นาสัญญายตนะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ จึงฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค ฯลฯ จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๑๖] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ฯลฯ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะอาศัยมรรคจึงทำสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้วเห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา มรรคของพระอริยะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ฯลฯ ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและ มิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย ผลสมาบัติเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)ปุเรชาตปัจจัย [๑๗] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๘๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย .. รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย ปุเรชาตปัจจัย วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดี เพลิดเพลินโสตะ ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง และเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของ กิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)ปัจฉาชาตปัจจัย [๑๘] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยปัจฉาชาตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดภายหลัง เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดภายหลัง เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)อาเสวนปัจจัย [๑๙] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวน- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย [๒๐] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและ เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็น อารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่ เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดร่วมกันเป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสซึ่งเกิดร่วมกันเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)วิปากปัจจัย [๒๑] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่ เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่ง กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)อาหารปัจจัย [๒๒] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
อินทรียปัจจัย [๒๓] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็น ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส ... มี ๓ วาระฌานปัจจัยเป็นต้น [๒๔] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยฌานปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัยวิปปยุตตปัจจัย [๒๕] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียวคือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง และเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียวคือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้า หมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของ กิเลสเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)อัตถิปัจจัย [๒๖] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย อัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง และเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) [๒๗] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัตถิปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... กาย ... รูป ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ยินดีหทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดย อัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย (๓) [๒๘] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดย อัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของ กิเลสเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย (๓) [๒๙] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลส ไม่ทำให้เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของ กิเลสและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำ ให้เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง และไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๘๙๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง และเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง แต่เป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและมหา- ภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นอารมณ์ของกิเลสและ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย [๓๐] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยนัตถิปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๓๑] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๙๐๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๔ วาระ อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระเหตุสภาคนัย อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๙๐๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระเหตุฆฏนา (๙) [๓๒] ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิและอวิคตะ มี ๓ วาระอวิปากะ ๔ ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิและอวิคตะ มี ๔ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และ อวิคตะ มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๙๐๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๕. สังกิลิฏฐติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิและอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕ ) (ย่อ) (พึงขยายให้พิสดารเหมือนในกุสลติกะ)อนุโลม จบ เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๘๘๐-๙๐๓. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=179 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=20006&Z=20519 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1668 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1668&items=83 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1668&items=83 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]