ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะ เป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว พระอริยะพิจารณากิเลสที่มี ปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปริตตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ- นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย อารัมมณปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุ พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ เห็น แจ้งขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดี เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม ด้วยจิตที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ ซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) [๑๕] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์ด้วยเจโต- ปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย อารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาปฐมฌานปัจจเวกขณะ ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนปัจจเวกขณะ พิจารณาทิพพจักขุปัจจเวกขณะ พิจารณาทิพพโสตธาตุปัจจเวกขณะ พิจารณาอิทธิวิธญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ เจโตปริยญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ อนาคตังสญาณปัจจเวกขณะ พระอริยะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

พิจารณากิเลสที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้ กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปริตตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์ด้วยเจโต- ปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย อารัมมณปัจจัย (๒) [๑๖] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็น อัปปมาณะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะซึ่ง มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณามัคคปัจจเวกขณะ พิจารณาผลปัจจเวกขณะ พิจารณานิพพานปัจจเวกขณะ บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปริตตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโต- ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และ อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณาเจโตปริยญาณที่มีอัปปมาณะ เป็นอารมณ์ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พิจารณาอนาคตังสญาณ รู้จิต ของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ด้วย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

เจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย อารัมมณปัจจัย (๓)
อธิปติปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งมีปริตตะเป็น อารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคล พิจารณาทิพพจักขุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสา- นุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ราคะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒) [๑๘] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ อิทธิวิธญาณที่มี {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

มหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดี เพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มี มหัคคตะเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคล พิจารณาปฐมฌานปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณา อนาคตังสญาณปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่ เป็นปริตตะซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒) [๑๙] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ สหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสขะ พิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาโวทานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น พิจารณามัคคปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานปัจจเวกขณะให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสขะ พิจารณาเจโตปริยญาณที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น (๓)
อนันตรปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติ- จิตที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็น ปัจจัยแก่อาวัชชนจิตที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีปริตตะเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ภวังคจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ อาวัชชนจิตที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๓) [๒๑] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

อุปปัตติจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตที่มีปริตตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มี มหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะ เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ภวังคจิตที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ อาวัชชนจิตที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดย อนันตรปัจจัย (๓) [๒๒] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ซึ่ง เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตร- ปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มัคคปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์ผลปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ นิพพาน ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เจโตปริยญาณที่มีอัป- ปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ปุพเพนิวาสานุสสติ- ญาณเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ อนาคตังสญาณเป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปริตตะเป็นอารมณ์โดย อนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มัคคปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มี มหัคคตะเป็นอารมณ์ ผลปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ นิพพานปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ผลเป็นปัจจัย แก่วุฏฐานะที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)
สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มให้เหมือนกับปฏิจจวาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์แล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่มี ปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกายโดย อุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์แล้วทำฌาน ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้ว ทำฌาน ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะและความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์แล้วทำฌาน ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้ เกิดขึ้น อาศัยศีลที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ สุขทาง กาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้วทำฌานที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๒๖] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป- นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์แล้วทำฌาน ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ให้เกิดขึ้น มีมานะถือทิฏฐิอาศัยศีลที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ทำฌานที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ ศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความ ปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาโดย อุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์แล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ศรัทธาที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์แล้วทำฌาน ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้ เกิดขึ้นอาศัยศีลที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วทำฌานที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๒๗] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์แล้วทำ ฌานที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาแล้ว ทำฌานที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีอัปปมาณะ เป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์แล้วให้ ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็น อารมณ์ ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์แล้วทำ ฌานที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาแล้วทำฌานที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์ ฯลฯ ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
อาเสวนปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น อารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ อนุโลมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๒๙] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะ เป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ อนุโลมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๒) [๓๐] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ซึ่ง เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวน- ปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
กัมมปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น วิบากซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น วิบากซึ่งมีมหัคคตะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๓๒] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น วิบากซึ่งมีอัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีอัปปมาณะ เป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๒)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์โดยวิปากปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๓๔] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๗๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

อาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๕] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๓๖] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะ เป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๓๗] สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็น อารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมหัคคตะ เป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๓๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๓๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๙๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

อุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๕ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
ปริตตารัมมณติกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๓}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๔๖๗-๔๘๓. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=31              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=11131&Z=11571                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1567              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1567&items=60              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1567&items=60                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :