บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๑๔] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและ ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและ ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ [๑๕] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย อาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน- รูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสอง ทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่ นอน ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผล แน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำ สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐาน- รูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำ สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต- สมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕) [๑๖] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและทำหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่ นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำ สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่ นอนและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ผล แน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (มี ๓ วาระ เหมือนกับสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด)อารัมมณปัจจัยเป็นต้น [๑๗] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (ย่อ พึงจำแนกเหมือน กับปัจจยวารในกุสลติกะ) เพราะอวิคตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร [๑๘] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)อนุโลม จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัย [๑๙] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย อาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)นอารัมมณปัจจัย [๒๐] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและ ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (เหมือนกับกุสลติกะ พึงเพิ่มเป็น ๕ วาระ)นอธิปติปัจจัย [๒๑] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและ ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะ ผิดและให้ผลแน่นอนทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบ และให้ผลแน่นอนทำขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน รูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำ จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบ และให้ผลแน่นอนทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่ นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนทำขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนทำขันธ์ที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่ นอนและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)นอนันตรปัจจัยเป็นต้น [๒๒] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองทำสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและ ให้ผลแน่นอนให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร [๒๓] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)ปัจจนียะ จบ ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ เหตุทุกนัย [๒๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)อนุโลมปัจจนียะ จบ ๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม นเหตุทุกนัย [๒๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ) อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)ปัจจนียานุโลม จบ ปัจจยวาร จบ (นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙๗}
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๔๙๑-๔๙๗. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=34 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=11716&Z=11853 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1650 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1650&items=17 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1650&items=17 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]