ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ที่กระทบไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ โดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสา- นุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอารัมมณ- ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออก จากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัย แก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะ พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้ง หทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ฯลฯ ปุริสินทรีย์ ฯลฯ ชีวิตินทรีย์ ฯลฯ อาโปธาตุ และกวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กระทบไม่ได้ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจา- ยตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และ อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย
[๗๐] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอธิปติ- ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้น นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ฯลฯ ปุริสินทรีย์ ฯลฯ ชีวิตินทรีย์ ฯลฯ อาโปธาตุ และกวฬิงการาหารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความ ยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้โดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กระทบไม่ได้ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดย อธิปติปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ซึ่งเกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย
สมนันตรปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย สมนันตรปัจจัย ฯลฯ
สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๗๓] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยสหชาต- ปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุและเสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลาย สงฆ์ อุตุและเสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอุปนิสสย- ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ อาศัย ศีล ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย และโภชนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปุเรชาตปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งหทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ และกวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะและหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ กระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๗๖] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อนซึ่งกระทบไม่ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกระทบได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึง {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

เพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง กระทบได้และกระทบไม่ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (สำหรับปัจจัยทั้ง ๒ พึงเพิ่มบท ที่เป็นมูล) (๓)
อาเสวนปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ซึ่งเกิดก่อนๆ ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่ มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
กัมมปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ กฏัตตารูปที่กระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบ ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่กระทบได้ โดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ กฏัตตารูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย วิปากปัจจัย ได้แก่ สภาวธรรมที่เป็นวิบากซึ่งกระทบไม่ได้ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย อาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กระทบไม่ได้โดยอาหารปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒ วาระที่เหลือ แม้ ในวาระทั้ง ๒ ก็พึงเพิ่มปฏิสนธิและกวฬิงการาหาร ไว้ในตอนท้ายด้วย) (๓)
อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๘๑] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอินทรีย- ปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ (แม้ในวาระทั้ง ๓ ก็พึงเพิ่มชีวิตินทรีย์ไว้ในตอนท้ายด้วย) (๓) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต ด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และกายวิญญาณเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๕๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปปยุตตปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตต- ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบ ไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้ โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง กระทบได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบ ไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้ และที่กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง กระทบได้และกระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อัตถิปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (วาระที่ ๑ เหมือนกับปฏิจวาร) (๑) สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ มหาภูตรูปที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่อาโปธาตุโดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูปที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป ซึ่งกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารโดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี อุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ และ อาโปธาตุโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึง อสัญญสัตตพรหม) (๓) [๘๔] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (พึง เพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งหทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ และกวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส จึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกระทบ ไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้ โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาโปธาตุเป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูปที่กระทบได้ โดยอัตถิปัจจัย อาโปธาตุเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปซึ่งกระทบได้โดยอัตถิปัจจัย อาโปธาตุเป็นปัจจัยแก่จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะโดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกระทบได้ โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ ฯลฯ (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึง อสัญญสัตตพรหม) ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกระทบได้ และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

[๘๕] สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบ ได้โดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้ ฯลฯ (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึง อสัญญสัตตพรหม) สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณและ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้ และที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๘๖] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๕ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๘๗] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยสหชาต- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ โดยสหชาตปัจจัย (๓) [๘๘] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓) [๘๙] สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ โดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้ และที่กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๙๐] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๔ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
ปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๙๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๙๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ (พึงนับอนุโลมมาติกา) อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ
สัปปฏิฆทุกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๕๗}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๒ หน้าที่ ๑๔๔-๑๕๗. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=42&siri=25              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=4074&Z=4427                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=233              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=42&item=233&items=22              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=42&item=233&items=22                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu42



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :