ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ปัจจยจตุกกนัย-เหตุปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (ย่อ) [๒๗] เหตุปัจจัย มี ๑๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ ฯลฯ สหชาตปัจจัย มี ๑๙ วาระ ฯลฯ อาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑๙ วาระ (พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร ให้พิสดาร)
๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ฯลฯ [๒๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มิใช่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ มี ๕ วาระ (ย่อ) [๓๐] เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ฯลฯ สหชาตปัจจัย มี ๑๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๒๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๘ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๕ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ อาหารปัจจัย มี ๒๐ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๓๖ วาระ (พึงขยายปัญหาวารให้พิสดาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๓๑}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๕ หน้าที่ ๒๒๖-๒๓๑. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=45&siri=43              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=45&A=3627&Z=3701                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45&i=560              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=45&item=560&items=11              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=45&item=560&items=11                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu45



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :