ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒ วิภังคปกรณ์
ปัญหาปุจฉกะ
[๗๗๔] สิกขาบท ๕ คือ ๑. ปาณาติปาตาเวรมณีสิกขาบท ๒. อทินนาทานาเวรมณีสิกขาบท ๓. กาเมสุมิจฉาจาราเวรมณีสิกขาบท ๔. มุสาวาทาเวรมณีสิกขาบท ๕. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานาเวรมณีสิกขาบท
ติกมาติกาปุจฉา-ทุกมาติกาปุจฉา
บรรดาสิกขาบท ๕ สิกขาบทไหนเป็นกุศล สิกขาบทไหนเป็นอกุศล สิกขาบทไหนเป็นอัพยากฤต ฯลฯ สิกขาบทไหนเป็นสรณะ สิกขาบทไหน เป็นอรณะ
ติกมาติกาวิสัชนา
[๗๗๕] สิกขาบท ๕ เป็นกุศลอย่างเดียว สิกขาบท ๕ เป็นสุขเวทนา- *สัมปยุตก็มี เป็นอทุกขมสุขเวทนาสัมปยุตก็มี สิกขาบท ๕ เป็นวิปากธัมมธรรม สิกขาบท ๕ เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ สิกขาบท ๕ เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ สิกขาบท ๕ เป็นสวิตักกสวิจาระ สิกขาบท ๕ เป็นปีติสหคตะก็มี เป็นสุข- *สหคตะก็มี เป็นอุเบกขาสหคตะก็มี สิกขาบท ๕ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหา- *ตัพพะ สิกขาบท ๕ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ สิกขาบท ๕ เป็น อาจยคามี สิกขาบท ๕ เป็นเนวเสกขนาเสกขะ สิกขาบท ๕ เป็นปริตตะ สิกขาบท ๕ เป็นปริตตารัมมณะ สิกขาบท ๕ เป็นมัชฌิมะ สิกขาบท ๕ เป็น อนิยตะ สิกขาบท ๕ กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นมัคคารัมมณะ แม้เป็นมัคคเหตุกะ แม้เป็นมัคคาธิปติ สิกขาบท ๕ เป็นอุปปันนะก็มี เป็นอนุปปันนะก็มี กล่าว ไม่ได้ว่า เป็นอุปปาที สิกขาบท ๕ เป็นอดีตก็มี เป็นอนาคตก็มี เป็นปัจจุบันก็มี สิกขาบท ๕ เป็นปัจจุปปันนารัมมณะ สิกขาบท ๕ เป็นอัชฌัตตะก็มี เป็นพหิทธา ก็มี เป็นอัชฌัตตพหิทธาก็มี สิกขาบท ๕ เป็นพหิทธารัมมณะ สิกขาบท ๕ เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆะ
ทุกมาติกาวิสัชนา
๑. เหตุโคจฉกวิสัชนา
[๗๗๖] สิกขาบท ๕ เป็นนเหตุ สิกขาบท ๕ เป็นสเหตุกะ สิกขาบท ๕ เป็นเหตุสัมปยุต สิกขาบท ๕ กล่าวไม่ได้ว่า เป็นเหตุสเหตุกะ เป็นแต่ สเหตุกนเหตุ สิกขาบท ๕ กล่าวไม่ได้ว่า เป็นเหตุเหตุสัมปยุต เป็นแต่เหตุ- *สัมปยุตตนเหตุ เป็นนเหตุสเหตุกะ
๒. จูฬันตรทุกวิสัชนา
สิกขาบท ๕ เป็นสัปปัจจยะ สิกขาบท ๕ เป็นสังขตะ สิกขาบท ๕ เป็นอนิทัสสนะ สิกขาบท ๕ เป็นอัปปฏิฆะ สิกขาบท ๕ เป็นอรูป สิกขาบท ๕ เป็นโลกิยะ สิกขาบท ๕ เป็นเกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจินวิญเญยยะ
๓. อาสวโคจฉกวิสัชนา
สิกขาบท ๕ เป็นโนอาสวะ สิกขาบท ๕ เป็นสาสวะ สิกขาบท ๕ เป็นอาสววิปปยุต สิกขาบท ๕ กล่าวไม่ได้ว่า เป็นอาสวสาสวะ เป็นแต่ สาสวโนอาสวะ สิกขาบท ๕ กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นอาสวอาสวสัมปยุต แม้ เป็นอาสวสัมปยุตตโนอาสวะ เป็นแต่อาสววิปปยุตตสาสวะ
๔,๕,๖,๗,๘,๙,๑๐. สัญโญชนโคจฉกาทิวิสัชนา
สิกขาบท ๕ เป็นโนสัญโญชนะ ฯลฯ สิกขาบท ๕ เป็นโนคันถะ ฯลฯ สิกขาบท ๕ เป็นโนโอฆะ ฯลฯ สิกขาบท ๕ เป็นโนโยคะ ฯลฯ สิกขาบท ๕ เป็นโนนีวรณะ ฯลฯ สิกขาบท ๕ เป็นโนปรามาสะ ฯลฯ สิกขาบท ๕ เป็นสารัมมณะ สิกขาบท ๕ เป็นโนจิตตะ สิกขาบท ๕ เป็นเจตสิกะ สิกขาบท ๕ เป็นจิตตสัมปยุต สิกขาบท ๕ เป็นจิตตสังสัฏฐะ สิกขาบท ๕ เป็นจิตตสมุฏฐานะ สิกขาบท ๕ เป็นจิตตสหภู สิกขาบท ๕ เป็นจิตตานุ- *ปริวัตติ สิกขาบท ๕ เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานะ สิกขาบท ๕ เป็นจิตตสัง- *สัฏฐสมุฏฐานสหภู สิกขาบท ๕ เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติ สิกขาบท ๕ เป็นพาหิระ สิกขาบท ๕ เป็นนอุปาทา สิกขาบท ๕ เป็นอนุปาทินนะ
๑๑,๑๒,๑๓. อุปาทานโคจฉกาทิวิสัชนา
สิกขาบท ๕ เป็นนอุปาทานะ ฯลฯ สิกขาบท ๕ เป็นโนกิเลสะ ฯลฯ สิกขาบท ๕ เป็นนทัสสนปหาตัพพะ สิกขาบท ๕ เป็นนภาวนาปหาตัพพะ สิกขาบท ๕ เป็นนทัสสนปหาตัพพเหตุกะ สิกขาบท ๕ เป็นนภาวนาปหาตัพพ- *เหตุกะ สิกขาบท ๕ เป็นสวิตักกะ เป็นสวิจาระ สิกขาบท ๕ เป็นสัปปีติกะก็มี เป็นอัปปีติกะก็มี สิกขาบท ๕ เป็นปีติสหคตะก็มี เป็นนปีติสหคตะก็มี สิกขาบท ๕ เป็นสุขสหคตะก็มี เป็นนสุขสหคตะก็มี สิกขาบท ๕ เป็นอุเปกขาสหคตะก็มี เป็นนอุเปกขาสหคตะก็มี สิกขาบท ๕ เป็นกามาวจร สิกขาบท ๕ เป็นนรูปาวจร สิกขาบท ๕ เป็นนอรูปาวจร สิกขาบท ๕ เป็นปริยาปันนะ สิกขาบท ๕ เป็น อนิยยานิกะ สิกขาบท ๕ เป็นอนิยตะ สิกขาบท ๕ เป็นสอุตตระ สิกขาบท ๕ เป็นอรณะ ฉะนี้แล
ปัญหาปุจฉกะ จบ
สิกขาปทวิภังค์ จบบริบูรณ์

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ บรรทัดที่ ๙๙๙๖-๑๐๐๕๙ หน้าที่ ๔๓๒-๔๓๔. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=35&A=9996&Z=10059&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=35&A=9996&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=35&siri=57              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=35&i=774              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=35&A=7993              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=54&A=9742              The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=35&A=7993              The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=54&A=9742              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ https://84000.org/tipitaka/read/?index_35              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/vb14/en/thittila#pts-s714

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]