บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๙ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓ ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น เหตุทุกะ ปฏิจจวาร [๑] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ อโลภะ อโมหะ อาศัยอโทสะ อโลภะ อโทสะ อาศัยอโมหะ โมหะ อาศัยโลภะ โลภะ อาศัยโทสะ โทสะ อาศัยโมหะ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอโลภะพึงผูกจักรนัย โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และเหตุธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และเหตุธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายพึงผูกจักรนัย โมหะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โมหะ อาศัยโทสะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ในปฏิสนธิขณะ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และหทัยวัตถุ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ และเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ และเหตุธรรม เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อโทสะ อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น เหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อโทสะ อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ และอโลภะพึงผูกจักรนัย ขันธ์ ๓ และโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ และอโลภะ ฯลฯ [๒] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ทิ้งรูปภูมิเสีย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙ ในอรูปภูมิเท่านั้น เพราะอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี พึงกระทำให้บริบูรณ์ อาศัยมหาภูต- *รูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย นี้เป็น ข้อที่ต่างกัน เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย มีมหาภูตรูปทั้งหมดตลอดถึงอสัญญสัตว์ เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี แม้ในภูมิทั้งสอง เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย [๓] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ พึงนับอย่างนี้อนุโลมปัฏฐาน จบ [๔] นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๕] นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูปทั้งหมด นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ- *ธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย พึงกระทำให้บริบูรณ์ ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญปัจจัย ไม่ใช่เพราะอุปนิสสย- *ปัจจัย [๖] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะพึงผูกจักรนัย โมหะ อาศัยโลภะ โลภะ อาศัยโมหะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยเหตุธรรม จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอโลภะพึงผูกจักรนัย โมหะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะพึงผูกจักรนัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเหตุธรรม ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ เหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และนเหตุธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น นเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายพึงผูกจักรนัย ในอรูปภูมิ โมหะ อาศัยโลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายพึงผูกจักรนัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรมและเหตุธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม และ นเหตุธรรม ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรมและนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และอโทสะ อโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น นเหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯพึงผูกจักรนัย ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม และโลภะพึงผูกจักรนัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๗] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย [๘] นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ กัมมปัจจัย คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยเหตุธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย [๙] เหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย มี ๙ นัย [๑๐] นเหตุธรรม อาศัยนเหตุธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป มหา- *ภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ส่วนพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๒] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหาร- *สมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๑๓] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนเหตุธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ในอเหตุก- *ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย เหมือนที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ในอรูปภูมิเท่านั้น ฯลฯ ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ปัจจนียะ จบ [๑๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓อนุโลมปัจจนียะ จบ [๑๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ปัจจนียานุโลม จบ แม้สหชาตวาร ก็เหมือนกับปฏิจจวาร ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร หัวข้อปัจจัย เมื่อมหา- *ภูตรูปทั้งหลายจบแล้ว พึงกระทำว่า "อาศัยหทัยวัตถุ" อายตนะ ๕ ย่อมได้ ในอนุโลมก็ดี ในปัจจนียะก็ดี ฉันใด พึงกระทำฉันนั้น สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตต- *วารก็ดี พึงทำให้บริบูรณ์ รูปภูมิไม่มี มีแต่อรูปภูมิเท่านั้นเนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๑-๒๒๖ หน้าที่ ๑-๑๐. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=1&Z=226&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=42&A=1&pagebreak=0 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=42&siri=1 ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=1 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=42&A=1 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12774 The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=42&A=1 The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12774 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ https://84000.org/tipitaka/read/?index_42
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]