ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒
             [๒๐๒] อุ. สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ให้สติวินัยแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย .... ให้อมูฬหวินัย
แก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย การกระทำนั้น ชื่อว่ากรรมเป็นธรรมเป็นวินัย หรือหนอ พระพุทธเจ้าข้า?
             ภ. อุบาลี การกระทำนั้นชื่อว่ากรรมเป็นธรรม เป็นวินัย.
             อุ. สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย .... ทำตัสสปาปิย-
*สิกากรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม .... ทำตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม ....
ทำนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรนิยสกรรม .... ทำปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม .... ทำ
ปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปฏิสารณียกรรม .... ทำอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนียกรรม ....
ให้ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรปริวาส .... ชักเข้าหาอาบัติเดิมซึ่งภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม .... ให้
มานัตแก่ภิกษุผู้ควรมานัต .... อัพภานภิกษุผู้ควรอัพภาน .... อุปสมบทกุลบุตรผู้ควรอุปสมบท การ
กระทำนั้นชื่อว่ากรรมเป็นธรรม เป็นวินัย หรือหนอ พระพุทธเจ้าข้า?

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๑๙.

ภ. อุบาลี การกระทำนั้นชื่อว่ากรรมเป็นธรรม เป็นวินัย อุบาลี สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ให้สติวินัยแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย .... ให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย อย่างนี้แล อุบาลี ชื่อว่ากรรมเป็นธรรม เป็นวินัย และการกระทำอย่างนี้ สงฆ์ย่อมไม่มีโทษ. สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย .... ทำตัสสปาปิยสิกากรรม แก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม .... ทำตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม .... ทำนิยสกรรม แก่ภิกษุผู้ควรนิยสกรรม .... ทำปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม .... ทำปฏิสารณีย- *กรรมแก่ภิกษุผู้ควรปฏิสารณียกรรม .... ทำอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนียกรรม .... ให้ ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรปริวาส .... ชักเข้าหาอาบัติเดิมซึ่งภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม .... ให้มานัตแก่ ภิกษุผู้ควรมานัต .... อัพภานภิกษุผู้ควรอัพภาน .... อุปสมบทกุลบุตรผู้ควรอุปสมบท อย่างนี้แล อุบาลี ชื่อว่ากรรมเป็นธรรม เป็นวินัย และการกระทำอย่างนี้ สงฆ์ย่อมไม่มีโทษ.

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ บรรทัดที่ ๕๓๐๖-๕๓๒๕ หน้าที่ ๒๑๘-๒๑๙. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=5&A=5306&Z=5325&pagebreak=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=54              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=5&i=199              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [202] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=5&item=202&items=1              The Pali Tipitaka in Roman :- [202] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=5&item=202&items=1              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๕ https://84000.org/tipitaka/read/?index_5              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/pli-tv-kd9/en/brahmali#pli-tv-kd9:6.1.0 https://suttacentral.net/pli-tv-kd9/en/horner-brahmali#Kd.9.6

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :