ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] กถาวัตถุปกรณ์

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๒๑. เอกวีสติมวรรค]

๑. สาสนกถา (๒๐๐)

๒๑. เอกวีสติมวรรค
๑. สาสนกถา (๒๐๐)
ว่าด้วยหลักคำสอน
[๘๗๘] สก. คำสอน๑- ดัดแปลงใหม่ได้ใช่ไหม ปร.๒- ใช่๓- สก. สติปัฏฐานดัดแปลงใหม่ได้ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. คำสอนดัดแปลงใหม่ได้ใช่ไหม ปร. ใช่ สก. สัมมัปปธาน ฯลฯ อิทธิบาท ฯลฯ อินทรีย์ ฯลฯ พละ ฯลฯ โพชฌงค์ ดัดแปลงใหม่ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. คำสอนที่เป็นอกุศลในกาลก่อน ในภายหลังดัดแปลงให้เป็นกุศลได้ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. คำสอนที่เนื่องด้วยอาสวะ ฯลฯ เนื่องด้วยสังโยชน์ ฯลฯ เนื่องด้วยคันถะ ฯลฯ เนื่องด้วยโอฆะ ฯลฯ เนื่องด้วยโยคะ ฯลฯ เนื่องด้วยนิวรณ์ ฯลฯ เนื่อง ด้วยปรามาส ฯลฯ เนื่องด้วยอุปาทาน ฯลฯ เนื่องด้วยสังกิเลสในกาลก่อน ใน ภายหลังดัดแปลงไม่ให้เนื่องด้วยสังกิเลสได้ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ @เชิงอรรถ : @ คำสอน หมายถึงหลักคำสอนของพระตถาคต (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๗๘/๓๑๔) @ ปร. หมายถึงภิกษุในนิกายอุตตราปถกะบางพวก (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๗๘/๓๑๔) @ เพราะมีความเห็นว่า การทำสังคายนาก็คือการปรับปรุงคำสอนใหม่ ซึ่งต่างกับความเห็นของสกวาทีที่เห็นว่า @การทำสังคายนามิใช่การปรับปรุงคำสอนใหม่ แต่เป็นการรวบรวมและจัดหมวดหมู่คำสอนเดิม @เพราะคำสอนเดิมของพระพุทธเจ้าไม่มีใครสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๗๘/๓๑๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๙๐๙}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๒๑. เอกวีสติมวรรค]

๑. สาสนกถา (๒๐๐)

สก. บุคคลบางคนดัดแปลงคำสอนของพระตถาคตใหม่ได้มีอยู่ใช่ไหม ปร. ใช่ สก. บุคคลบางคนดัดแปลงสติปัฏฐานใหม่ได้มีอยู่ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. บุคคลบางคนดัดแปลงสัมมัปปธาน ฯลฯ อิทธิบาท ฯลฯ อินทรีย์ ฯลฯ พละ ฯลฯ โพชฌงค์ใหม่ได้มีอยู่ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. บุคคลบางคนดัดแปลงคำสอนที่เคยเป็นอกุศลในกาลก่อน ในภายหลัง ดัดแปลงให้เป็นกุศลได้มีอยู่ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. บุคคลบางคนดัดแปลงคำสอนที่เนื่องด้วยอาสวะ ฯลฯ เนื่องด้วย สังกิเลสในกาลก่อน ในภายหลังดัดแปลงไม่ให้เนื่องด้วยสังกิเลสได้มีอยู่ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. คำสอนของพระตถาคตดัดแปลงใหม่อีกได้ใช่ไหม ปร. ใช่ สก. สติปัฏฐานดัดแปลงใหม่อีกได้ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. สัมมัปปธาน ฯลฯ อิทธิบาท ฯลฯ อินทรีย์ ฯลฯ พละ ฯลฯ โพชฌงค์ ดัดแปลงใหม่อีกได้ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ สก. คำสอนที่เคยเป็นอกุศลในกาลก่อน ในภายหลังดัดแปลงให้เป็นกุศลได้ ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๙๑๐}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๒๑. เอกวีสติมวรรค]

๒. อวิวิตตกถา (๒๐๑)

สก. คำสอนที่เนื่องด้วยอาสวะ ฯลฯ เนื่องด้วยสังกิเลสในกาลก่อน ในภายหลังดัดแปลงไม่ให้เนื่องด้วยสังกิเลสได้ใช่ไหม ปร. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
สาสนกถา จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๗ หน้าที่ ๙๐๙-๙๑๑. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=37&siri=218              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=37&A=19507&Z=19552                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=37&i=1833              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=37&item=1833&items=3              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=7073              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=37&item=1833&items=3              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=7073                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu37              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/kv21.1/en/aung-rhysdavids



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :