ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๘ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ยมกปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ

๑. มูลวารนิทเทส
๑. กุสลบท นยจตุกกะ
[๕๐] อนุโลมปุจฉา สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล๑- สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลมูลใช่ไหม วิสัชนา กุศลมูลมี ๓ เท่านั้น๒- สภาวธรรมที่เหลือเป็นกุศล แต่ไม่เป็นกุศลมูล๓- ปฏิโลมปุจฉา สภาวธรรมเหล่าใดเป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นกุศลใช่ไหม วิสัชนา ใช่ (๑) [๕๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม วิ. ใช่ ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐาน๔- มีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็นกุศล กุศลมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๒) [๕๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาว- ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นเป็นมูลอย่างเดียวกันก็ใช่ เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับกุศลมูลที่เหลือมีมูลอย่าง เดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็นมูลอาศัยกันและกัน @เชิงอรรถ : @ คือสภาวะที่เป็นกุศลซึ่งไม่มีโทษ มีสุขเป็นผล (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๐/๓๓๐) @ กุศลมูลมี ๓ คือ อโลภะ อโทสะ และอโมหะ แม้อัพยากตมูลก็เช่นกัน @ อีกประการหนึ่ง แปลว่า สภาวธรรมที่เป็นกุศลมีผัสสะเป็นต้นที่เหลือ ชื่อว่าเป็นสภาวธรรม ไม่จัดเป็น @กุศลมูล (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๐/๓๓๐) @ คือมีกุศลจิตเป็นสมุฏฐาน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๑/๓๓๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๐}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ

ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๑) (๓) [๕๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลที่เป็นกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลที่เป็นกุศลมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลที่เหลือไม่เป็นมูล ที่เป็นกุศลมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น กุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๔) [๕๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม วิ. ใช่ ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็น กุศล กุศลมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๕) [๕๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกัน๑- กับกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียว กันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับกุศลมูลที่ เหลือ มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกัน @เชิงอรรถ : @ คำว่า เป็นมูลอาศัยกันและกัน หมายถึงเป็นปัจจัยของกันและกันโดยเหตุปัจจัย (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๒-๕๖/๓๓๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๑}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ

ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาว- ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๒) (๖) [๕๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น กุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นกุศล แต่ไม่เป็นกุศล กุศลมีมูลที่ เป็นกุศลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๗) [๕๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม วิ. ใช่ ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็นกุศล กุศลมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๘) [๕๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาว- ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับกุศลมูลที่เหลือมีมูลอย่าง เดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่มีมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๓) (๙) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๒}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ

[๕๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลที่เป็นกุศลมูลใช่ไหม วิ. ใช่ ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น กุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นกุศลมูล แต่ไม่เป็นกุศล กุศลมีมูลที่ เป็นกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๑๐) [๖๐] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม วิ. ใช่ ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็น กุศล กุศลมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๑๑) [๖๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับกุศล มูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกัน และกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๔) (๑๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๓}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ

๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๖๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดเป็นอกุศลมูลใช่ไหม วิ. อกุศลมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เหลือเป็นอกุศล แต่ไม่เป็นอกุศลมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดเป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น อกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๑๓) [๖๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะ๑- ไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล อกุศลที่เป็น สเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่เป็นอกุศล อกุศลมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๑๔) [๖๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นอกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอกุศลมูลที่เหลือมีมูลอย่างเดียว กันกับอกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๑) (๑๕) @เชิงอรรถ : @ อกุศลที่เป็นอเหตุกะ คือโมหะที่สัมปยุตกับวิจิกิจฉาและอุทธัจจะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒-๗๓/๓๓๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๔}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ

[๖๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นอกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลที่เป็นอกุศลมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เหลือเป็นอกุศล แต่ไม่ ใช่มีมูลที่เป็นอกุศลมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๑๖) [๖๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล อกุศล ที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่ เป็นอกุศล อกุศลมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๑๗) [๖๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับ อกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล ใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นอกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอกุศล มูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกัน และกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๒) (๑๘) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๕}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ

[๖๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นอกุศลใช่ไหม วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นอกุศล อกุศลที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่ เป็นอกุศล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น อกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นอกุศล แต่ไม่เป็นอกุศล อกุศลมี มูลที่เป็นอกุศลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๑๙) [๖๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล อกุศลที่เป็น สเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่เป็นอกุศล อกุศลมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๒๐) [๗๐] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นอกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอกุศลมูลที่เหลือมีมูลอย่าง เดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๓) (๒๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๖}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ

[๗๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นอกุศลมูลใช่ไหม วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นอกุศลมูล อกุศลที่เป็นสเหตุกะมี มูลที่เป็นอกุศลมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นอกุศลมูล แต่ไม่เป็นอกุศล อกุศล มีมูลที่เป็นอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๒๒) [๗๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล อกุศล ที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ ไม่เป็นอกุศล อกุศลมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ [๗๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศล- มูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นอกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับ อกุศลมูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูล อาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาว- ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม วิ. ใช่ (๔) (๒๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๗}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ

๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ
[๗๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต๑- สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. อัพยากตมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตที่เหลือไม่เป็น อัพยากตมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดเป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น อัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๒๕) [๗๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะ๒- ไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล อัพยากฤตที่เป็นสเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๒๖) [๗๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นอัพยากตมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกัน ก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอัพยากตมูลที่เหลือมี มูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๑) (๒๗) @เชิงอรรถ : @ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ได้แก่ วิปากจิต กิริยาจิตพร้อมทั้งเจตสิกที่ประกอบ รูป และนิพพาน @ อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะ ได้แก่ จิตตุปบาท ๑๘ รูป และนิพพาน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๔-๘๕/๓๓๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๘}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ

[๗๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. มูลที่เป็นอัพยากตมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตที่เหลือ ไม่ใช่มีมูลที่เป็นอัพยากตมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๒๘) [๗๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล อัพยากฤตที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๒๙) [๗๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยา- กตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล ใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นอัพยากตมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับ อัพยากตมูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็น มูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๒) (๓๐) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑๙}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ

[๘๐] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นอัพยากฤต อัพยากฤตที่เป็น สเหตุกะมีมูลที่เป็นอัพยากฤต ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๓๑) [๘๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล อัพยากฤตที่เป็นสเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๓๒) [๘๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นอัพยากตมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกัน ก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอัพยากตมูลที่เหลือมี มูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๓) (๓๓) [๘๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นอัพยากตมูล อัพยากฤตที่เป็น สเหตุกะมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๒๐}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ

ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๓๔) [๘๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล อัพยากฤตที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาว- ธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๓๕) [๘๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่ง มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับ อัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับ อัพยากตมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นอัพยากตมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับ อัพยากตมูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่ เป็นมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม วิ. ใช่ (๔) (๓๖)
๔. นามบท นยจตุกกะ
[๘๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม๑- สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นนามมูลใช่ไหม วิ. นามมูล๒- มี ๙ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นนามที่เหลือไม่เป็นนามมูล @เชิงอรรถ : @ สภาวธรรมที่เป็นนาม ในที่นี้หมายถึงอรูปขันธ์ ๔ และนิพพาน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๖-๙๗/๓๓๒) @ นามมูล คือ กุศลมูล ๓ อกุศลมูล ๓ อัพยากตมูล ๓ รวมเป็น ๙ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๖-๙๗/๓๓๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๒๑}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ

ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดเป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนาม ใช่ไหม วิ. ใช่ (๓๗) [๘๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม วิ. นามที่เป็นอเหตุกะ๑- ไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล นามที่เป็น สเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่เป็นนาม นามมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๓๘) [๘๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นนามมูลเกิดร่วมกัน นามเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับนามมูลที่เหลือมีมูลอย่าง เดียวกันกับนามมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม วิ. ใช่ (๑) (๓๙) [๘๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลที่เป็นนามมูลใช่ไหม วิ. มูลที่เป็นนามมูลมี ๙ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นนามที่เหลือ ไม่ใช่มีมูล ที่เป็นนามมูล @เชิงอรรถ : @ นามที่เป็นอเหตุกะ ในที่นี้หมายถึงจิตตุปบาท ๑๘ โมหะที่สัมปยุตด้วยวิจิกิจฉา อุทธัจจะ และ @นิพพาน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๖-๙๗/๓๓๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ

ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น นามใช่ไหม วิ. ใช่ (๔๐) [๙๐] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม วิ. นามที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล นามที่ เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลแต่ไม่เป็น นาม นามมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๑) [๙๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นนามมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกัน ก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับนามมูลที่ เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม วิ. ใช่ (๒) (๔๒) [๙๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นนามใช่ไหม วิ. นามที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นนาม นามที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นนาม ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น นามใช่ไหม วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นนามแต่ไม่เป็นนาม นามมีมูลที่เป็น นามก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารนิทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ

[๙๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม วิ. นามที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล นามที่เป็น สเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่เป็นนาม นามมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๔) [๙๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่ง มีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นนามมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับนามมูลที่เหลือมีมูลอย่างเดียว กันกับนามมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม วิ. ใช่ (๓) (๔๕) [๙๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นนามมูลใช่ไหม วิ. นามที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นนามมูล นามที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่ เป็นนามมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นนามใช่ไหม วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นนามมูล แต่ไม่เป็นนาม นามมีมูลที่ เป็นนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๖) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๒-๑๐. เหตุวาราทินิทเทส

[๙๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม วิ. นามที่เป็นอเหตุกะ ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล นามที่ เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่ เป็นนาม นามมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๗) [๙๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม วิ. มูลเหล่าใดเป็นนามมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียว กันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับนามมูลที่ เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกัน ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม วิ. ใช่ (๔) (๔๘)
มูลวารนิทเทส จบ
๒-๑๐. เหตุวาราทินิทเทส
[๙๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นกุศลเหตุใช่ไหม วิ. กุศลเหตุมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลที่เหลือไม่เป็นกุศลเหตุ ฯลฯ ไม่เป็นกุศลนิทาน ฯลฯ ไม่เป็นกุศลสมภพ ฯลฯ ไม่เป็นกุศลประภพ ฯลฯ ไม่เป็นกุศลสมุฏฐาน ฯลฯ ไม่เป็นกุศลอาหาร ฯลฯ ไม่เป็นกุศลอารมณ์ ฯลฯ ไม่เป็นกุศลปัจจัย ฯลฯ ไม่เป็นกุศลสมุทัย ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๒-๑๐. เหตุวาราทินิทเทส

[๙๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล ฯลฯ อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นนามเหตุ ฯลฯ เป็นนามนิทาน ฯลฯ เป็นนามสมภพ ฯลฯ เป็นนามประภพ ฯลฯ เป็นนามสมุฏฐาน ฯลฯ เป็นนามอาหาร ฯลฯ เป็นนามอารมณ์ ฯลฯ เป็นนามปัจจัย ฯลฯ เป็นนามสมุทัย มูล เหตุ นิทาน สมภพ ประภพ สมุฏฐาน อาหาร อารมณ์ ปัจจัย และสมุทัย มีด้วยประการฉะนี้
นิทเทสวาร จบ
มูลยมก จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๒๖}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๘ หน้าที่ ๑๐-๒๖. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=38&siri=2              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=38&A=179&Z=543                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=38&i=6              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=38&item=6&items=17              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=7428              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=38&item=6&items=17              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=7428                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๘ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu38



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :