บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๒๖. คันถทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๕. คันถโคจฉกะ ๒๖. คันถทุกะ ๑. ปฏิจจวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๑] สภาวธรรมที่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อภิชฌากายคันถะอาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น สีลัพพต- ปรามาสกายคันถะอาศัยอภิชฌากายคันถะเกิดขึ้น อภิชฌากายคันถะอาศัย อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะเกิดขึ้น อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะอาศัยอภิชฌา- กายคันถะเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นคันถะและไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ อภิชฌากายคันถะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย สีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓) [๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ คันถะอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ คันถะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น คันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๓๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๒๖. คันถทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อภิชฌากายคันถะอาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะ และอาศัยคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะ และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่ เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อภิชฌากายคันถะและจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะและสีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ) เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๔] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ) วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระอนุโลม จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๓๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๒๖. คันถทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัย [๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น คันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ (พึงเพิ่ม ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น [๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (ย่อ) ... เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ... เพราะนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ... เพราะนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ... เพราะนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ... เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระนปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น [๗] สภาวธรรมที่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต- ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ อภิชฌากายคันถะอาศัยอิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ เกิดขึ้น อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะอาศัยอภิชฌากายคันถะเกิดขึ้น (ในอรูปาวจรภูมิ ไม่มีสีลัพพตปรามาส พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ อย่างนี้) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๓๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๒๖. คันถทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ เพราะนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ เพราะนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ เพราะนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ เพราะนอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ เพราะนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ เพราะนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ เพราะโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร สุทธนัย นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๓๓๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๒๖. คันถทุกะ ๓. ปัจจยวาร
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ [๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ พึงนับอย่างนี้)๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม [๑๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร) เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๒ หน้าที่ ๓๓๑-๓๓๕. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=42&siri=63 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=42&A=9075&Z=9190 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=498 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=42&item=498&items=8 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=42&item=498&items=8 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu42
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]