ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๔๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๖๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึด ถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๔๔๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิต ที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ คันธายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๖๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยทิพพจักขุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม ด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) [๔๔๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดี เพลิดพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึง เกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลส ที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิต โดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๖๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

เห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ อากาสานัญจายตนกุศลเป็น ปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ฯลฯ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
อธิปติปัจจัย
[๔๔๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดพลิน เพราะทำความ ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๖๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

พิจารณานิพพาน ฯลฯ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดย อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
อนันตรปัจจัย
[๔๔๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ปัญจวิญญาณเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบากโดยอนันตรปัจจัย มโนธาตุที่เป็น วิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ภวังคจิตเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโน วิญญาณธาตุที่เป็นกิริยาโดยอนันตรปัจจัย (๒) [๔๕๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๖๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ๕ ฯลฯ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปัจจยวาร) มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๔๕๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกายเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดย อุปนิสสยปัจจัย สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะเป็น ปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ โภชนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๖๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

[๔๕๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา มรรคและผลสมาบัติโดย อุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล อาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์มีการแสวง หาเป็นมูล ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลเป็นปัจจัยแก่วิบากโดย อุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัย
[๔๕๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... โผฏฐัพพะ และหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่ เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาท {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ และหทัยวัตถุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยทิพพจักขุ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) [๔๕๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบาก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

จึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย๑- (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะและโสตายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๔๕๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) @เชิงอรรถ : @ ไม่ปรากฏในฉบับฉัฏฐสังคีติ ๒๕๓๓ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย ปัจฉาชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๓) [๔๕๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ)
กัมมปัจจัย
[๔๕๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
วิปากปัจจัย
[๔๕๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ (ย่อ บทที่มีสภาวธรรมที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นมูล มี ๓ วาระ) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อาหารปัจจัย
[๔๕๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย อาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ โดยอาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๓) [๔๖๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือโดยอาหารปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย อาหารปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๔๖๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย อินทรียปัจจัย (๑) ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย อินทรียปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ (บทที่มีสภาวธรรมที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นมูล มี ๓ วาระ เฉพาะบทแรกเท่านั้นมี รูปชีวิตินทรีย์ นอกนี้ไม่มี) (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๔๖๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตต- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือและจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย วิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

[๔๖๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย วิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้ แก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๔๖๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ พึงจำแนกบท ตามที่ตั้งไว้ให้บริบูรณ์) (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๗๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (ย่อ พึงขยายบทตามที่ตั้งไว้ ให้พิสดาร) (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (ย่อ พึงขยายบทตามที่ตั้งไว้ให้พิสดาร) (๓) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (ย่อ พึงจำแนก บทตามที่ตั้งไว้) (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็น วิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอาหาระ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๓) [๔๖๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย อัตถิปัจจัย รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและมหา- ภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย อัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี อย่างเดียว คือ อาหาระ ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๓) ... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๔๖๖] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ วิปากปัจจัย มี ๔ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๖๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๓) [๔๖๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย๑- ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหาร- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัยและอาหารปัจจัย (๓) @เชิงอรรถ : @ ไม่ปรากฏในฉบับฉัฏฐสังคีติ ปี ๒๕๓๓ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ โดยปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยสหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และ อาหารปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย อาหารปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๔๖๙] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ) นอาหารปัจจัย มี ๘ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๔๗๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๔๗๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อุปาทินนทุกะ จบ
มหันตรทุกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๖}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๒๖๔-๒๘๖. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=43&siri=43              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=43&A=5938&Z=6352                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=370&items=20              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=370&items=20                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :