ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมปัจจนียะ [ทุกปัฏฐาน]

๑๕. สาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

๑๔. อาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น อาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็น อาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็น อาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น อาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
๑๕. สาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น อารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมปัจจนียะ [ทุกปัฏฐาน]

๑๖. อาสวสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของ อาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของ อาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๑) (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
๑๖. อาสวสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๐] สภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วย อาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมปัจจนียะ [ทุกปัฏฐาน]

๑๗. อาสวสาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะ และที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะ และที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่สัมปยุตด้วยอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
๑๗. อาสวสาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาว- ธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะมิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ ของอาสวะมิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาว- ธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรม ที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมปัจจนียะ [ทุกปัฏฐาน]

๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะมิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ ของอาสวะมิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นอาสวะมิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะมิใช่ ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะมิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของ อาสวะมิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะมิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ ของอาสวะมิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะมิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของ อาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะมิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
๑๘. อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ ไม่เป็นอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะมิใช่ ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมปัจจนียะ [ทุกปัฏฐาน]

๑๙. อาสววิปปยุตสาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ ไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะมิใช่ ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นอาสวะไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะมิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ ไม่เป็นอาสวะไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะมิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิด ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่วิปปยุตจากอาสวะ มิใช่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะไม่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่วิปปยุต จากอาสวะมิใช่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
๑๙. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๓] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่เป็นอารมณ์ของอาสวะ อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมปัจจนียะ [ทุกปัฏฐาน]

๒๐. สัญโญชนทุกะ

สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัย สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่วิปปยุตจาก อาสวะมิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่ เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัย สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่มิใช่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัย สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะและที่วิปปยุตจากอาสวะมิใช่ ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (ทุกปัจจัยพึงขยายให้พิสดาร)
อาสวโคจฉกะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๕ หน้าที่ ๓๓-๓๘. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=45&siri=7              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=45&A=561&Z=682                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45&i=80              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=45&item=80&items=12              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=45&item=80&items=12                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu45



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :