บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
จตุกกนิทเทส อุปาทาอุปาทินนจตุกกะ [๘๘๒] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือ รูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่า กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ [๘๘๓] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือ นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และอนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่ง ขึ้น รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่ากรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ [๘๘๔] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิยึดถือ นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปนี้ ชื่อว่ากรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ [๘๘๕] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือ นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูป นี้ ชื่อว่ากรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออุปาทาอุปาทินนุปาทานิยจตุกกะ [๘๘๖] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือ และเป็นอารมณ์ของอุปาทาน นั้นเป็นไฉน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๓๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือ รูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหาร ที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่า กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน [๘๘๗] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และอนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่ง ขึ้น รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่ากรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน [๘๘๘] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปนี้ ชื่อว่ากรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน [๘๘๙] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูป นี้ชื่อว่ากรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอุปาทาสัปปฏิฆจตุกกะ [๘๙๐] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กระทบได้ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปที่กระทบได้ [๘๙๑] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กระทบไม่ได้ นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปที่กระทบ ไม่ได้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๓๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
[๘๙๒] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กระทบได้ นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปที่กระทบได้ [๘๙๓] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปที่กระทบไม่ได้ นั้นเป็นไฉน อาโปธาตุ รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปที่กระทบไม่ได้อุปาทาโอฬาริกจตุกกะ [๘๙๔] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ [๘๙๕] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียด [๘๙๖] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ [๘๙๗] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน อาโปธาตุ รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียดอุปาทาทูเรจตุกกะ [๘๙๘] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๘๙๙] รูปที่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ รูปที่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้ [๙๐๐] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน อาโปธาตุ รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๙๐๑] รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ รูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้อุปาทินนสนิทัสสนจตุกกะ [๙๐๒] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นรูปที่เห็นได้ นั้นเป็นไฉน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
รูปายตนะที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ นี้ชื่อว่าเห็นได้ [๙๐๓] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นรูปที่เห็นไม่ได้ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือ รูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่าเห็นไม่ได้ [๙๐๔] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นรูปที่เห็นได้ นั้นเป็นไฉน รูปายตนะที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือนี้ชื่อว่าเห็นได้ [๙๐๕] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นรูปที่เห็น ไม่ได้ นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และอนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหาร ที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือนี้ชื่อว่า เห็นไม่ได้อุปาทินนสัปปฏิฆจตุกกะ [๙๐๖] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นรูปที่กระทบได้ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่ากระทบได้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
[๙๐๗] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นรูปที่กระทบไม่ได้ นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่ากระทบไม่ได้ [๙๐๘] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นรูปที่กระทบได้ นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือนี้ชื่อว่ากระทบได้ [๙๐๙] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นรูปที่กระทบไม่ได้ นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และ อนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือนี้ชื่อว่ากระทบไม่ได้อุปาทินนมหาภูตจตุกกะ [๙๑๐] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นมหาภูตรูป [๙๑๑] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือไม่เป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือ รูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่าไม่เป็นมหาภูตรูป {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
[๙๑๒] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นมหาภูตรูปนั้น เป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นมหาภูตรูป [๙๑๓] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และอนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือนี้ชื่อว่าไม่เป็นมหาภูตรูปอุปาทินนโอฬาริกจตุกกะ [๙๑๔] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นรูปหยาบ นั้น เป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ [๙๑๕] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียด [๙๑๖] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะอันกรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
[๙๑๗] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และ อนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียดอุปาทินนทูเรจตุกกะ [๙๑๘] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นรูปไกล นั้น เป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๙๑๙] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นรูปใกล้ นั้น เป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้ [๙๒๐] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และ อนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๙๒๑] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
สัททายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้อุปาทินนุปาทานิยสนิทัสสนจตุกกะ [๙๒๒] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปที่เห็นได้ นั้นเป็นไฉน รูปายตนะที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเห็นได้ [๙๒๓] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปที่เห็นไม่ได้ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือ รูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเห็นไม่ได้ [๙๒๔] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นรูปที่เห็นได้ นั้นเป็นไฉน รูปายตนะที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเห็นได้ [๙๒๕] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นรูปที่เห็นไม่ได้ นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และอนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่ กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเห็นไม่ได้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
อุปาทินนุปาทานิยสัปปฏิฆจตุกกะ [๙๒๖] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปที่กระทบได้ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่ากระทบได้ [๙๒๗] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปที่กระทบไม่ได้ นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่ากระทบไม่ได้ [๙๒๘] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นรูปที่กระทบได้ นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่ากระทบได้ [๙๒๙] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปที่กระทบไม่ได้ นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และ อนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่ากระทบไม่ได้อุปาทินนุปาทานิยมหาภูตจตุกกะ [๙๓๐] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นมหาภูตรูป [๙๓๑] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทาน ไม่เป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือ รูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา ทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าไม่เป็นมหาภูตรูป [๙๓๒] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นมหาภูตรูป [๙๓๓] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทาน ไม่เป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และอนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ อากาสธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่ง ขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน นี้ชื่อว่าไม่เป็นมหาภูตรูปอุปาทินนุปาทานิยโอฬาริกจตุกกะ [๙๓๔] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
[๙๓๕] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียด [๙๓๖] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ [๙๓๗] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และ อนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียดอุปาทินนุปาทานิยทูเรจตุกกะ [๙๓๘] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๙๓๙] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะที่กรรมปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
[๙๔๐] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ลหุตารูป มุทุตารูป กัมมัญญตารูป ชรตารูป และ อนิจจตารูป หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ อากาสธาตุ อาโปธาตุ อุปจยรูป สันตติรูป และกวฬิงการาหารที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๙๔๑] รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน สัททายตนะ หรือรูปแม้อื่น มีอยู่ ได้แก่ รูปายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมไม่ได้ปรุงแต่งขึ้น รูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้สัปปฏิฆอินทริยจตุกกะ [๙๔๒] รูปที่กระทบได้เป็นอินทริยรูป นั้นเป็นไฉน จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ รูปที่กระทบได้นี้ชื่อว่าเป็นอินทริยรูป [๙๔๓] รูปที่กระทบได้ไม่เป็นอินทริยรูป นั้นเป็นไฉน รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ รูปที่กระทบได้นี้ชื่อว่าไม่เป็นอินทริยรูป [๙๔๔] รูปที่กระทบไม่ได้เป็นอินทริยรูป นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ รูปที่กระทบไม่ได้นี้ชื่อว่าเป็นอินทริยรูป [๙๔๕] รูปที่กระทบไม่ได้ไม่เป็นอินทริยรูป นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่กระทบไม่ได้นี้ชื่อว่าไม่เป็น อินทริยรูปสัปปฏิฆมหาภูตจตุกกะ [๙๔๖] รูปที่กระทบได้เป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ รูปที่กระทบได้นี้ชื่อว่าเป็นมหาภูตรูป {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๔๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
[๙๔๗] รูปที่กระทบได้ไม่เป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ รูปที่กระทบได้นี้ชื่อว่าไม่เป็นมหาภูตรูป [๙๔๘] รูปที่กระทบไม่ได้เป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน อาโปธาตุ รูปที่กระทบไม่ได้นี้ชื่อว่าเป็นมหาภูตรูป [๙๔๙] รูปที่กระทบไม่ได้ไม่เป็นมหาภูตรูป นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่กระทบไม่ได้นี้ชื่อว่าไม่เป็นมหาภูตรูปอินทริยโอฬาริกจตุกกะ [๙๕๐] รูปที่เป็นอินทริยรูปเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ รูปที่เป็นอินทริยรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ [๙๕๑] รูปที่เป็นอินทริยรูปเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ รูปที่เป็นอินทริยรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียด [๙๕๒] รูปที่ไม่เป็นอินทริยรูปเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ รูปที่ไม่เป็นอินทริยรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ [๙๕๓] รูปที่ไม่เป็นอินทริยรูปเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่ไม่เป็นอินทริยรูปนี้ชื่อว่า เป็นรูปละเอียดอินทริยทูเรจตุกกะ [๙๕๔] รูปที่เป็นอินทริยรูปเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ และชีวิตินทรีย์ รูปที่เป็นอินทริยรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๙๕๕] รูปที่เป็นอินทริยรูปเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ รูปที่เป็นอินทริยรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้ [๙๕๖] รูปที่ไม่เป็นอินทริยรูปเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ วจีวิญญัติ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่ไม่เป็นอินทริยรูปนี้ชื่อว่า เป็นรูปไกล [๙๕๗] รูปที่ไม่เป็นอินทริยรูปเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ รูปที่ไม่เป็นอินทริยรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๕๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ จตุกกนิทเทส
มหาภูตโอฬาริกจตุกกะ [๙๕๘] รูปที่เป็นมหาภูตรูปเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ รูปที่เป็นมหาภูตรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ [๙๕๙] รูปที่เป็นมหาภูตรูปเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน อาโปธาตุ รูปที่เป็นมหาภูตรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียด [๙๖๐] รูปที่ไม่เป็นมหาภูตรูปเป็นรูปหยาบ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ รูปที่ไม่เป็นมหาภูตรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปหยาบ [๙๖๑] รูปที่ไม่เป็นมหาภูตรูปเป็นรูปละเอียด นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่ไม่เป็นมหาภูตรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปละเอียดมหาภูตทูเรจตุกกะ [๙๖๒] รูปที่เป็นมหาภูตรูปเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน อาโปธาตุ รูปที่เป็นมหาภูตรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๙๖๓] รูปที่เป็นมหาภูตรูปเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน โผฏฐัพพายตนะ รูปที่เป็นมหาภูตรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้ [๙๖๔] รูปที่ไม่เป็นมหาภูตรูปเป็นรูปไกล นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่ไม่เป็นมหาภูตรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปไกล [๙๖๕] รูปที่ไม่เป็นมหาภูตรูปเป็นรูปใกล้ นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ รูปที่ไม่เป็นมหาภูตรูปนี้ชื่อว่าเป็นรูปใกล้ทิฏฐาทิจตุกกะ [๙๖๖] รูปที่เห็นได้คือรูปายตนะ๑- รูปที่สดับได้คือสัททายตนะ รูปที่ทราบได้คือ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะ รูปที่รู้แจ้งได้ด้วยใจคือรูปทั้งหมดรวมรูปหมวดละ ๔ อย่างนี้ จตุกกนิทเทส จบ @เชิงอรรถ : @๑ อภิ.สงฺ.อ. ๓๙๖ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๕๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ ปัญจกนิทเทส
ปัญจกนิทเทส [๙๖๗] รูปที่เป็นปฐวีธาตุ นั้นเป็นไฉน ธรรมชาติที่แข็ง ธรรมชาติที่กระด้าง ความแข็ง ภาวะที่แข็งภายในตนหรือ ภายนอกตน ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ หรือที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ รูปนี้ชื่อว่าเป็นปฐวีธาตุ [๙๖๘] รูปที่เป็นอาโปธาตุ นั้นเป็นไฉน ความเอิบอาบ ธรรมชาติที่เอิบอาบ ความเหนียว ธรรมชาติที่เหนียว ธรรมชาติเป็นเครื่องเกาะกุมรูปภายในตนหรือภายนอกตน ที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือ หรือที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ รูปนี้ชื่อ ว่าเป็นอาโปธาตุ [๙๖๙] รูปที่เป็นเตโชธาตุ นั้นเป็นไฉน ความร้อน ธรรมชาติที่ร้อน ความอุ่น ธรรมชาติที่อุ่น ความอบอุ่น ธรรมชาติ ที่อบอุ่นภายในตนหรือภายนอกตน ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ หรือที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ รูปนี้ชื่อว่าเป็นเตโชธาตุ [๙๗๐] รูปที่เป็นวาโยธาตุ นั้นเป็นไฉน ความพัดไปมา ธรรมชาติที่พัดไปมา ธรรมชาติเครื่องค้ำจุนรูปภายในตนหรือ ภายนอกตน ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ หรือที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ รูปนี้ชื่อว่าเป็นวาโยธาตุ [๙๗๑] รูปที่เป็นอุปาทายรูป นั้นเป็นไฉน จักขายตนะ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปนี้ชื่อว่าเป็นอุปาทายรูปรวมรูปหมวดละ ๕ อย่างนี้ ปัญจกนิทเทส จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๕๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ อัฏฐกนิทเทส
ฉักกนิทเทส [๙๗๒] รูปที่จักขุวิญญาณรู้ได้คือรูปายตนะ รูปที่โสตวิญญาณรู้ได้คือสัททายตนะ รูปที่ฆานวิญญาณรู้ได้คือคันธายตนะ รูปที่ชิวหาวิญญาณรู้ได้คือรสายตนะ รูปที่ กายวิญญาณรู้ได้คือโผฏฐัพพายตนะ รูปที่มโนวิญญาณรู้ได้คือรูปทั้งหมดรวมรูปหมวดละ ๖ อย่างนี้ ฉักกนิทเทส จบ สัตตกนิทเทส [๙๗๓] รูปที่จักขุวิญญาณรู้ได้คือรูปายตนะ รูปที่โสตวิญญาณรู้ได้คือสัททายตนะ รูปที่ฆานวิญญาณรู้ได้คือคันธายตนะ รูปที่ชิวหาวิญญาณรู้ได้คือรสายตนะ รูปที่ กายวิญญาณรู้ได้คือโผฏฐัพพายตนะ รูปที่มโนธาตุรู้ได้คือรูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะ รูปที่มโนวิญญาณธาตุรู้ได้คือรูปทั้งหมดรวมรูปหมวดละ ๗ อย่างนี้ สัตตกนิทเทส จบ อัฏฐกนิทเทส [๙๗๔] รูปที่จักขุวิญญาณรู้ได้คือรูปายตนะ รูปที่โสตวิญญาณรู้ได้คือสัททายตนะ รูปที่ฆานวิญญาณรู้ได้คือคันธายตนะ รูปที่ชิวหาวิญญาณรู้ได้คือรสายตนะ รูปที่ กายวิญญาณรู้ได้คือโผฏฐัพพะที่น่าชอบใจซึ่งมีสัมผัสเป็นสุข รูปที่กายวิญญาณรู้ได้ คือโผฏฐัพพะที่ไม่น่าชอบใจซึ่งมีสัมผัสเป็นทุกข์ รูปที่มโนธาตุรู้ได้คือรูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะ รูปที่มโนวิญญาณธาตุรู้ได้ คือรูปทั้งหมดรวมรูปหมวดละ ๘ อย่างนี้ อัฏฐกนิทเทส จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๕๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ ทสกนิเทส
นวกนิทเทส [๙๗๕] รูปที่เป็นจักขุนทรีย์ นั้นเป็นไฉน จักษุใด เป็นปสาทรูป อาศัยมหาภูตรูป ๔ ฯลฯ นี้ชื่อว่าบ้านว่างบ้าง รูปนี้ ชื่อว่าเป็นจักขุนทรีย์ [๙๗๖] รูปที่เป็นโสตินทรีย์ ฯลฯ เป็นฆานินทรีย์ ฯลฯ เป็นชิวหินทรีย์ ฯลฯ เป็นกายินทรีย์ ฯลฯ เป็นอิตถินทรีย์ ฯลฯ เป็นปุริสินทรีย์ ฯลฯ เป็น ชีวิตินทรีย์ นั้นเป็นไฉน อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่ให้เป็นไป อาการที่สืบเนื่องกัน ความ ดำเนินไป ความหล่อเลี้ยง ชีวิต ชีวิตินทรีย์แห่งสภาวธรรมที่เป็นรูปเหล่านั้น รูปนี้ ชื่อว่าเป็นชีวิตินทรีย์ [๙๗๗] รูปที่ไม่เป็นอินทรีย์ นั้นเป็นไฉน รูปายตนะ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปนี้ชื่อว่าไม่เป็นอินทรีย์รวมรูปหมวดละ ๙ อย่างนี้ นวกนิทเทส จบ ทสกนิทเทส [๙๗๘] รูปที่เป็นจักขุนทรีย์ นั้นเป็นไฉน จักษุใด เป็นปสาทรูป อาศัยมหาภูตรูป ๔ ฯลฯ นี้ชื่อว่าบ้านว่างบ้าง รูปนี้ ชื่อว่าเป็นจักขุนทรีย์ [๙๗๙] รูปที่เป็นโสตินทรีย์ ฯลฯ เป็นฆานินทรีย์ ฯลฯ เป็นชิวหินทรีย์ ฯลฯ เป็นกายินทรีย์ ฯลฯ เป็นอิตถินทรีย์ ฯลฯ เป็นปุริสินทรีย์ ฯลฯ เป็นชีวิตินทรีย์ นั้นเป็นไฉน อายุ ความดำรงอยู่ ความเป็นไป กิริยาที่ให้เป็นไป อาการที่สืบเนื่องกัน ความดำเนินไป ความหล่อเลี้ยง ชีวิต ชีวิตินทรีย์แห่งสภาวธรรมที่เป็นรูปเหล่านั้น รูปนี้ชื่อว่าเป็นชีวิตินทรีย์ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๕๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี [๒. รูปกัณฑ์]
รูปวิภัตติ เอกาทสกนิทเทส
[๙๘๐] รูปที่ไม่เป็นอินทรีย์ที่กระทบได้ นั้นเป็นไฉน รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ รูปที่ไม่เป็นอินทรีย์นี้ชื่อว่ากระทบได้ [๙๘๑] รูปที่ไม่เป็นอินทรีย์ที่กระทบไม่ได้ นั้นเป็นไฉน กายวิญญัติ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่ไม่เป็นอินทรีย์นี้ชื่อว่ากระทบไม่ได้รวมรูปหมวดละ ๑๐ อย่างนี้ ทสกนิทเทส จบ เอกาทสกนิทเทส [๙๘๒] รูปที่เป็นจักขายตนะ นั้นเป็นไฉน จักษุใด เป็นปสาทรูป อาศัยมหาภูตรูป ๔ ฯลฯ นี้ชื่อว่าบ้านว่างบ้าง รูปนี้ ชื่อว่าเป็นจักขายตนะ [๙๘๓] รูปที่เป็นโสตายตนะ ฯลฯ เป็นฆานายตนะ ฯลฯ เป็นชิวหายตนะ ฯลฯ เป็นกายายตนะ ฯลฯ เป็นรูปายตนะ ฯลฯ เป็นสัททายตนะ ฯลฯ เป็น คันธายตนะ ฯลฯ เป็นรสายตนะ ฯลฯ เป็นโผฏฐัพพายตนะ นั้นเป็นไฉน ปฐวีธาตุ ฯลฯ โผฏฐัพพธาตุบ้าง รูปนี้ชื่อว่าเป็นโผฏฐัพพายตนะ [๙๘๔] รูปที่เห็นไม่ได้และกระทบไม่ได้ซึ่งนับเนื่องในธัมมายตนะ นั้นเป็นไฉน อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร รูปที่เห็นไม่ได้ กระทบไม่ได้นี้ชื่อว่านับเนื่อง ในธัมมายตนะรวมรูปหมวดละ ๑๑ อย่างนี้ เอกาทสกนิทเทส จบ ภาณวารที่ ๘ จบ รูปวิภัตติ จบ รูปกัณฑ์ จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๔ หน้า : ๒๕๕}
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๔ หน้าที่ ๒๓๘-๒๕๕. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=34&siri=53 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=34&A=5389&Z=5745 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=34&i=634 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=34&item=634&items=29 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=53&A=9876 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=34&item=634&items=29 The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=53&A=9876 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu34 อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/ds2.2.3/en/caf_rhysdavids#pts-vp-en232
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]