ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] กถาวัตถุปกรณ์
๖. อตีตักขันธาทิกถา
ว่าด้วยอดีตขันธ์ เป็นต้น
๑. นสุตตสาธนะ
ว่าด้วยการไม่อ้างพระสูตร
[๒๙๗] ปร. อดีตเป็นขันธ์ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ @เชิงอรรถ : @ ดูเทียบ สํ.นิ. (แปล) ๑๖/๖๔/๑๒๓-๑๒๕ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๑๘}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. อดีตเป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อดีตเป็นธาตุใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อนาคตเป็นขันธ์ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อนาคตเป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อนาคตเป็นธาตุใช่ไหม สก. ใช่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๑๙}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. ปัจจุบันเป็นขันธ์ ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อดีตเป็นขันธ์ อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. ปัจจุบันเป็นอายตนะ ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อดีตเป็นอายตนะ อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. ปัจจุบันเป็นธาตุ ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อดีตเป็นธาตุ อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. ปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๐}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. ปัจจุบันเป็นขันธ์ ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อนาคตเป็นขันธ์ อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. ปัจจุบันเป็นอายตนะ ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อนาคตเป็นอายตนะ อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. ปัจจุบันเป็นธาตุ ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อนาคตเป็นธาตุ อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. ปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. อนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อดีตเป็นขันธ์ อดีตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. ปัจจุบันเป็นขันธ์ ปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อดีตเป็นอายตนะ อดีตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๑}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. ปัจจุบันเป็นอายตนะ ปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อดีตเป็นธาตุ อดีตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. ปัจจุบันเป็นธาตุ ปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ อดีตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. ปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ ปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อนาคตเป็นขันธ์ อนาคตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. ปัจจุบันเป็นขันธ์ ปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. อนาคตเป็นอายตนะ ฯลฯ อนาคตเป็นธาตุ ฯลฯ อนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ อนาคตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. ปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ ปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ใช่ไหม สก. ใช่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. รูปที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอดีตเป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอดีตเป็นธาตุใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นอนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอนาคตเป็นอายตนะ ฯลฯ รูปที่เป็นอนาคตเป็นธาตุ ฯลฯ รูปที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. รูปที่เป็นอนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ รูปที่เป็นปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ รูปที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นอายตนะ ฯลฯ รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นธาตุ ฯลฯ รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ รูปที่เป็นปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ รูปที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ รูปที่เป็นปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ รูปที่เป็นอนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นอายตนะ ฯลฯ รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นธาตุ ฯลฯ รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ รูปที่เป็นปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ รูปที่เป็นอนาคตมี อยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ รูปที่เป็นอดีตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ รูปที่เป็นปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอดีตเป็นอายตนะ ฯลฯ รูปที่เป็นอดีตเป็นธาตุ ฯลฯ รูปที่เป็น อดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ รูปที่เป็นอดีตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ รูปที่เป็นปัจจุบันไม่มี ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ รูปที่เป็นอนาคตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ รูปที่เป็นปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. รูปที่เป็นอนาคตเป็นอายตนะ ฯลฯ รูปที่เป็นอนาคตเป็นธาตุ ฯลฯ รูปที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ รูปที่เป็นอนาคตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. รูปที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ รูปที่เป็นปัจจุบันไม่มี ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. เวทนาที่เป็นอดีต ฯลฯ สัญญาที่เป็นอดีต ฯลฯ สังขารที่เป็นอดีต ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นอายตนะ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นธาตุ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นอนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นอายตนะ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นธาตุ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นอนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ วิญญาณที่เป็นปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ วิญญาณที่เป็นอดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นอายตนะ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็น ธาตุ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ วิญญาณที่เป็น ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ วิญญาณที่เป็น อดีตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ วิญญาณที่เป็นปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ วิญญาณที่เป็นอนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นอายตนะ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็น ธาตุ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ วิญญาณที่เป็น ปัจจุบันมีอยู่ใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ วิญญาณที่เป็น อนาคตมีอยู่ใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ วิญญาณที่เป็นอดีตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ วิญญาณที่เป็นปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นอายตนะ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นธาตุ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอดีตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ วิญญาณที่เป็นอดีตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ วิญญาณที่เป็น ปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๖. อตีตักขันธาทิกถา

ปร. วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ วิญญาณที่เป็นอนาคตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ วิญญาณที่เป็นปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ ปร. วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นอายตนะ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นธาตุ ฯลฯ วิญญาณที่เป็นอนาคตเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ วิญญาณที่เป็น อนาคตไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. วิญญาณที่เป็นปัจจุบันเป็นขันธ์ เป็นธาตุ เป็นอายตนะ วิญญาณที่เป็น ปัจจุบันไม่มีใช่ไหม สก. ไม่ควรกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
๒. สุตตสาธนะ
ว่าด้วยการอ้างพระสูตร
[๒๙๘] สก. ท่านไม่ยอมรับว่า “ขันธ์ ธาตุ อายตนะ ทั้งที่เป็นอดีตและ อนาคตเหล่านี้ไม่มี” ใช่ไหม ปร. ใช่ สก. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย หลักการ ๓ ประการนี้ คือ (๑) หลักภาษา (๒) หลักการตั้งชื่อ (๓) หลักการบัญญัติ ฯลฯ ไม่ถูกสมณพราหมณ์ผู้รู้คัดค้าน๑- ฯลฯ” มีอยู่จริงมิใช่หรือ ปร. ใช่ สก. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “ขันธ์ ธาตุ อายตนะ ทั้งที่เป็นอดีตและ อนาคตเหล่านี้ไม่มี” @เชิงอรรถ : @ ดูเทียบ สํ.ข. (แปล) ๑๗/๖๒/๑๐๐-๑๐๒ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๗ หน้า : ๒๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ [๑. มหาวรรค]

๗. เอกัจจมัตถีติกถา

ปร. ขันธ์ ธาตุ อายตนะ ทั้งที่เป็นอดีตและอนาคตเหล่านี้ไม่มีใช่ไหม สก. ใช่ ปร. พระสูตรที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย รูปทั้งหมด ทั้งที่ เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ฯลฯ นี้เรียกว่า รูปขันธ์ เวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณทั้งหมด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน นี้เรียกว่า วิญญาณขันธ์” มีอยู่จริงมิใช่หรือ สก. ใช่ ปร. ดังนั้น ท่านจึงไม่ควรยอมรับว่า “ขันธ์ ธาตุ อายตนะ ทั้งที่เป็นอดีต และอนาคตเหล่านี้ไม่มีอยู่”
อตีตักขันธาทิกถา จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๗ หน้าที่ ๒๑๘-๒๒๙. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=37&siri=26              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=37&A=4681&Z=4911                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=37&i=389              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=37&item=389&items=19              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=3972              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=37&item=389&items=19              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=3972                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๗ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu37              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/kv1.7/en/aung-rhysdavids



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :