ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๘ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ยมกปกรณ์ ภาค ๑
พระอภิธรรมปิฎก
ยมก ภาค ๑
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๑. มูลยมก
๑. มูลวารอุทเทส
๑. กุสลบท นยจตุกกะ*
[๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น กุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดเป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๕๐) [๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล อย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นกุศลใช่ไหม (๕๑) [๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดเป็นกุศลใช่ไหม (๑) (๕๒) @เชิงอรรถ : @* นยะมี ๔ คือ มูลนยะ มูลมูลนยะ มูลกนยะ มูลมูลกนยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๑/๓๒๘) ตัวเลข [๑] หมายถึงนยะ @ที่ ๑ ตัวเลข (๕๐) หมายถึงเลขหัวข้อในนิทเทสหน้า ๑๐ เป็นต้นไป {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๑}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารอุทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ

[๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล ที่เป็นกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล ใช่ไหม (๕๓) [๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล ที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๕๔) [๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๒) (๕๕) [๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล ที่เป็นกุศลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล ใช่ไหม (๕๖) [๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล อย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นกุศลใช่ไหม (๕๗) [๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดเป็นกุศลใช่ไหม (๓) (๕๘) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๒}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารอุทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ

[๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลที่เป็นกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล ใช่ไหม (๕๙) [๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี มูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๖๐) [๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๔) (๖๑)
๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดเป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๖๒) [๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๖๓) [๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๑) (๖๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๓}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารอุทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ

[๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี มูลที่เป็นอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น อกุศลใช่ไหม (๖๕) [๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๖๖) [๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๒) (๖๗) [๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลที่เป็นอกุศลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศล ใช่ไหม (๖๘) [๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๖๙) [๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาว- ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๓) (๗๐) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๔}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารอุทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะะ

[๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลที่เป็นอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น อกุศลใช่ไหม (๗๑) [๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๗๒) [๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๔) (๗๓)
๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ
[๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดเป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤต ใช่ไหม (๗๔) [๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๗๕) [๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาว- ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๑) (๗๖) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๕}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารอุทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะะ

[๒๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น อัพยากฤตใช่ไหม (๗๗) [๒๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๗๘) [๓๐] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๒) (๗๙) [๓๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลที่เป็นอัพยากฤตใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น อัพยากฤตใช่ไหม (๘๐) [๓๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๘๑) [๓๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาว- ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๓) (๘๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๖}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารอุทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ

[๓๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น อัพยากฤตใช่ไหม (๘๓) [๓๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๘๔) [๓๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๔) (๘๕)
๔. นามบท นยจตุกกะ
[๓๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดเป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๘๖) [๓๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี มูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้น ทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๘๗) [๓๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นนามใช่ไหม (๑) (๘๘) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๗}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๑. มูลวารอุทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ

[๔๐] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี มูลที่เป็นนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนาม ใช่ไหม (๘๙) [๔๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี มูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๙๐) [๔๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๒) (๙๑) [๔๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี มูลที่เป็นนามใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๙๒) [๔๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี มูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นนามใช่ไหม (๙๓) [๔๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง หมดเป็นนามใช่ไหม (๓) (๙๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๘}

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก]

๒-๑๐. เหตุวาราทิอุทเทส

[๔๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี มูลที่เป็นนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนาม ใช่ไหม (๙๕) [๔๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่า นั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๙๖) [๔๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๔) (๙๗)
มูลวารอุทเทส จบ
๒-๑๐. เหตุวาราทิอุทเทส
[๔๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นกุศลเหตุใช่ไหม ฯลฯ เป็นกุศลนิทาน๑- ฯลฯ เป็นกุศลสมภพ ฯลฯ เป็น กุศลประภพ ฯลฯ เป็นกุศลสมุฏฐาน ฯลฯ เป็นกุศลอาหาร ฯลฯ เป็นกุศล- อารมณ์ ฯลฯ เป็นกุศลปัจจัย ฯลฯ เป็นกุศลสมุทัย ฯลฯ (๙๘-๙๙) มูล เหตุ นิทาน สมภพ ประภพ สมุฏฐาน อาหาร อารมณ์ ปัจจัย และสมุทัย มีด้วยประการฉะนี้
อุทเทสวาร จบ
@เชิงอรรถ : @ อภิ.ปญฺจ.อ. ๑/๓๒๙-๓๓๐ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า : ๙}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๘ หน้าที่ ๑-๙. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=38&siri=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=38&A=1&Z=178                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=38&i=1              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=38&item=1&items=5              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=7355              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=38&item=1&items=5              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=7355                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๘ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu38



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :