ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรม ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบาก และไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูป ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้ เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น กฏัตตารูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำ สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕) [๕๙] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็น เหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบาก และที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรม ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ เป็นวิบากและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น กฏัตตารูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากและทำมหาภูตรูปให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น (๓) [๖๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและ ที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำมหาภูตรูปให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำมหาภูตรูป ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

อารัมมณปัจจัย
[๖๑] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็น เหตุให้เกิดวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โสตวิญญาณทำโสตายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฆานวิญญาณทำ ฆานายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ชิวหาวิญญาณทำชิวหายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิด วิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... ขันธ์ ๓ ทำ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่ เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
อธิปติปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อธิปติปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ... มี ๓ วาระ (อธิปติปัจจัย ไม่มีในปฏิสนธิขณะ) ... ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบาก และไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น อุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิด วิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำ สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต- สมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕) [๖๓] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็น เหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบาก และที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรม ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่เป็นวิบากและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) [๖๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและ ที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำมหาภูตรูปให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย
[๖๕] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย)
อัญญมัญญปัจจัย
[๖๖] ... เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุทำ ขันธ์ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรม ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) [๖๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบาก และไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น สมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ เป็นวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ เกิดวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้ เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่ เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

นิสสยปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นิสสยปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย)
อุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย
[๖๙] ... เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย ... ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย (ปัจจัยนี้ เหมือนกับอนันตรปัจจัย) (ย่อ)
อาเสวนปัจจัย
[๗๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิด วิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำ ขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นวิบาก และไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิด วิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่ เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

กัมมปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย)
วิปากปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น อุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นวิบากและ สภาวธรรมทั้ง ๒ มี ๓ วาระ ... ทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัยเป็นต้น
... เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๗๓] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
เหตุทุกนัย
[๗๔] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับเหมือนการนับในกุสลติกะ)
อนุโลม จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบาก ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นอเหตุกะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นในปฏิสนธิขณะซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๔) [๗๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็น เหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบาก ... ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็น วิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่ เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
นอารัมมณปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากทำสภาวธรรมที่เป็น วิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (ย่อ พึงขยายทุกบทให้พิสดาร)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๗๘] นเหตุปัจจัย มี ๑๒ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๓๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

นฌานปัจจัย มี ๔ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
นเหตุทุกนัย
[๗๙] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๔ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับเหมือนการนับปัจจนียะในกุสลติกะ)
ปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๔๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๓. ปัจจยวาร

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๘๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ ฯลฯ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับเหมือนการนับอนุโลมปัจจนียะในกุสลติกะ)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๘๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๔ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๔๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๔. นิสสยวาร

ฌานปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
ติกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ (พึงนับเหมือนการนับปัจจนียานุโลมในกุสลติกะ)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๗๒๗-๗๔๒. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=166              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=17104&Z=17417                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1311              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1311&items=34              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1311&items=34                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :