บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๓๙๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) [๓๙๓] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุต กับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) [๓๙๔] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิด ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับ ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (ย่อ) (๑)๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๓๙๕] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๕๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระอนุโลม จบ ๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัย [๓๙๖] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ สัมปยุตกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น [๓๙๗] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตสัมปยุตกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่ง เป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับ ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๕๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๓๙๘] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)ปัจจนียะ จบ ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ เหตุทุกนัย [๓๙๙] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ)อนุโลมปัจจนียะ จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๕๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๖. สัมปยุตตวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม นเหตุทุกนัย [๔๐๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๒ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๒ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๒ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (ย่อ)ปัจจนียานุโลม จบ สัมปยุตตวาร จบ (สังสัฏฐวาร ได้แก่ สัมปยุตตวาร สัมปยุตตวาร ได้แก่ สังสัฏฐวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๕๖}
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๒๕๓-๒๕๖. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=41 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=5696&Z=5785 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=475 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=475&items=9 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=11242 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=475&items=9 The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=11242 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]