ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๔๓๙] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๙๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
เหตุสภาคนัย
[๔๔๐] อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๔ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๙๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

สัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (๑๑)
เหตุสามัญญฆฏนา (๙)
[๔๔๑] ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔) ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สอินทรียมัคคฆฏนา (๙)
[๔๔๒] ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๙๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และ อวิคตะ มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๔) ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ และ อวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๙ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๙ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สาธิปติอินทรียมัคคฆฏนา (๖)
[๔๔๓] ปัจจัย ๘ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๓ ) ปัจจัย ๙ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๙๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจจัย ๑๑ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
เหตุมูลกนัย จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๒๙๒-๒๙๖. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=66              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=6773&Z=6854                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=625              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=625&items=3              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=11692              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=625&items=3              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=11692                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :