บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ เสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ เสขบุคคลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) [๒] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ อเสขบุคคลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) [๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๖๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ อเสขบุคคลเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคล อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)อารัมมณปัจจัยเป็นต้น [๔] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (มี ๓ วาระ พึงเพิ่มให้ บริบูรณ์) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคล ... มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๖๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)อาหารปัจจัยเป็นต้น [๕] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๖๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)อนุโลม จบ ๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัย [๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิด ขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๖๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)นอารัมมณปัจจัย [๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็น ของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น ของอเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญ- สัตตพรหม ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)นอธิปติปัจจัยเป็นต้น [๙] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิด ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่เป็นของ เสขบุคคลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๖๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่เป็นของ อเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ พึงเพิ่ม ปฏิสนธิและมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ (เหมือนกับกุสลติกะ) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) [๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ... อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่ ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล (บริบูรณ์แล้ว ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ... ฆฏนา บริบูรณ์แล้ว พึงเพิ่ม ๒ วาระ มี ๙ วาระ) เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลอาศัย ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๖๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นของเสข- บุคคลและอเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูต- รูป ๑ ฯลฯนวิปากปัจจัย [๑๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ เสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ เสขบุคคลเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๓) [๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว ไม่มี ปฏิสนธิ) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)นอาหารปัจจัยเป็นต้น [๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๖๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นสัมปยุตตปัจจัยเป็นต้น [๑๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับ นอารัมมณปัจจัย)นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของ เสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของ อเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๑๕] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๖๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)ปัจจนียะ จบ ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ เหตุทุกนัย [๑๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอาเสวนปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)อนุโลมปัจจนียะ จบ ๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม นเหตุทุกนัย [๑๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สัมปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ (สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร) เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๓๖๒-๓๗๒. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=22 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=8714&Z=8939 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1173 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1173&items=30 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12732 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1173&items=30 The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12732 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41 อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.12/en/narada
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]