ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) [๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่ เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว) จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข- บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคล ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำ สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลทำ สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕) [๒๐] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุ- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำมหาภูตรูปให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลทำสภาว- ธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและ ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) ... ทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคล ... มี ๓ วาระ (เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

อารัมมณปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุ- วิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข- บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสข- บุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)
อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

สหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของ เสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... ทำ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคล และอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข- บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น วิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคล ... เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๒๔] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... หทัยวัตถุทำ ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับ เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็น ของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่ เป็นของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของ อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว) สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... จักขายตนะ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ อเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข- บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคล ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข- บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรม ที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่ เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็น ของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย (มี ๗ วาระ) เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ เป็นสมุฏฐาน ฯลฯ เจตนาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข- บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็น ของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นวิปากปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บทมีสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นมูล มี ๓ วาระ) สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บทมีสภาวธรรม ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นมูล มี ๓ วาระ) สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ในเสกขฆฏนา มี ๓ วาระ)
นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่ เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย เพราะ นอินทรียปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย ฯลฯ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๓๐] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๗๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๓๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๘๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอัญญมัญญปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๔ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๓๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๘๑}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๓๗๒-๓๘๑. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=23              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=8940&Z=9136                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1203              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1203&items=21              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1203&items=21                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :