ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เกิด ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เกิด ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ย่อ) เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๓] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีปริตตะ เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... โมหะที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีมหัคคตะ เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมี อัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็น อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีอัปปมาณะเป็น อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๖] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี ปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็น อารมณ์ไม่มีปฏิสนธิ) (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (นปัจฉาชาตปัจจัยและ นอาเสวนปัจจัยเหมือนกับนอธิปติปัจจัย)
นกัมมปัจจัย
[๗] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ที่มี ปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ที่มี มหัคคตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็น อารมณ์เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัย ขันธ์ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑)
นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๘] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... เพราะ นมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีมหัคคตะ เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมี อัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
นวิปปยุตตปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปริตตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๑๐] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๑๑] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๑๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวารเหมือน กับปฏิจจวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๖๖}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๔๖๑-๔๖๖. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=30              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=10998&Z=11130                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1541              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1541&items=26              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12735              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1541&items=26              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12735                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.14/en/narada



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :