ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรค เป็นอธิบดีโดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยเหตุปัจจัย (ด้วยเหตุนี้พึงเพิ่มเป็น ๑๗ วาระ)
อารัมมณปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค รู้จิตของ บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีมรรคเป็นเหตุด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มี มรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๒๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค รู้จิตของบุคคล ผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีมรรคเป็นอธิบดีด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีมรรค เป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๓) [๓๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจาก มรรคแล้วพิจารณามรรค รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีมรรคเป็น เหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค เป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะ ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มี มรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๓) [๓๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรค เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระ อริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี มรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม ที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น อธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๓๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุโดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็น อธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ สหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี มรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๓๔] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดี- ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรค เป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๓) [๓๕] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดี- ธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรค เป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สห- ชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอธิปติปัจจัย (๕)
อนันตรปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรค เป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๓๗] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลังๆ โดย อนันตรปัจจัย (๓) [๓๘] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็น อารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็น อารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี มรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มี มรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (แม้ปัจจัยทั้ง ๓ พึงเพิ่มเป็น ๑๗ วาระ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

อุปนิสสยปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๓) [๔๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น เหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็น ปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย อุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะออกจาก มรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย อุปนิสสยปัจจัย (๕) [๔๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็น ปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุโดย อุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย อุปนิสสยปัจจัย (๕) [๔๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป- นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปัจจเวกขณะเป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๔๔] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย อุปนิสสยปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูป- นิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัย แก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
อาเสวนปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี โดยอาเสวนปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ ไม่พึง เพิ่มอาวัชชนจิต)
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๔๖] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (ไม่มีนานาขณิกะ พึง เพิ่มเป็น ๑๗ วาระ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๔๗] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย (๗ ปัจจัยนี้มี ๑๗ วาระเหมือนกับเหตุปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย (มี ๑๗ วาระ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๔๘] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อารมณ์โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๕๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดย อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดย อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี มรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕) [๕๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น อธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุโดย สหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕) [๕๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๕๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นเหตุโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๕๔] นเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ (เมื่อระบุนอารัมมณปัจจัยแล้ว ก็ขาดไป ๒ ปัจจัย คือ ปกตารัมมณปัจจัย และ อุปนิสสยารัมมณปัจจัย) นอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๑ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๒๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๕๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๗๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
มัคคารัมมณติกะที่ ๑๖ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔๙}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๕๓๓-๕๔๙. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=38              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=12629&Z=13039                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1796              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1796&items=92              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1796&items=92                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :