บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๑๑] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีธรรมภายในตนเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีธรรมภายนอกตนเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)อารัมมณปัจจัย [๑๒] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจา- ยตนะที่เป็นภายในตน พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาทิพพจักขุที่ เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ซึ่งละได้ แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นภาย ในตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์จึง เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรมภาย นอกตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๑๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ที่เป็นภายนอกตน พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาทิพพจักขุที่เป็น ภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายนอก ตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) [๑๓] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาทิพพจักขุ ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ รู้จิตของ บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นภายนอกตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็น ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังส- ญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจาก ฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้ แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายนอก ตนเป็นอารมณ์ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ... อิทธิวิธญาณ ... เจโตปริยญาณ ... ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ... ยถากัมมูปคญาณ ... อนาคตังสญาณ ... ขันธ์ที่ เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่มีธรรมภายใน ตนเป็น อารมณ์จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรม ภายนอกตนเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)อธิปติปัจจัย [๑๔] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นภายในตน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ... ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ... ยถากัมมูปคญาณ ... อนาคตังสญาณให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดี เพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีธรรมภายในตนเป็น อารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) [๑๕] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย อธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออก จากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น บุคคล พิจารณาทิพพจักขุที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาทิพพโสตธาตุ ... อิทธิวิธญาณ ... เจโตปริยญาณ ... ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ .... ยถากัมมูปคญาณ .... อนาคตังสญาณให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นภายในตนซึ่งมีธรรมภายนอกตน เป็นอารมณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง เกิดขึ้น (๒)อนันตรปัจจัย [๑๖] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็น อารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีธรรมภายในตนเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตซึ่งมีธรรมภายนอก ตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่มีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ... อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ... เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๒) [๑๗] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นอารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ซึ่งเกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ... โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ... โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ... มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ... ผลเป็นปัจจัยแก่ผล ... อนุโลมเป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีธรรมภายนอกตนเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตที่มีธรรมภายใน ตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัย แก่วุฏฐานะที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอนันตรปัจจัย (๒)สมนันตรปัจจัยเป็นต้น [๑๘] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัยอุปนิสสยปัจจัย [๑๙] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ อนัตตานุปัสสนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) [๒๐] สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และ อนัตตานุปัสสนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนา ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนา ทุกขานุปัสสนา และอนัตตานุปัสสนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)อาเสวนปัจจัย [๒๑] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็น อารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ อนุโลมที่มีธรรมภายในตนเป็น อารมณ์เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารมณ์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ซึ่งเกิด หลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัย แก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)กัมมปัจจัย [๒๒] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นวิบากซึ่งมีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีธรรมภาย นอกตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีธรรมภายใน ตนเป็นอารมณ์โดยกัมมปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากปัจจัยเป็นต้น [๒๓] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๒๔] เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ) สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)อนุโลม จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร [๒๕] สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ธรรมภายในตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายนอกตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ กัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีธรรม ภายในตนเป็นอารมณ์โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร [๒๖] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ (ย่อ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๔ วาระ) นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๔ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ (พึงนับอย่างนี้)ปัจจนียะ จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ [๒๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ โนนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)(พึงนับอย่างนี้) อนุโลมปัจจนียะ จบ ๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม [๒๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ(พึงนับอย่างนี้) ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ อัชฌัตตารัมมณติกะ จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒๙}
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๖๑๙-๖๒๙. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=47 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=14654&Z=14910 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=2142 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=2142&items=33 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=2142&items=33 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]