ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๐๖] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๔๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อารัมมณปัจจัย
[๒๐๗] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นกามาวจรโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย อารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิต ของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นกามาวจร ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๒) [๒๐๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค และผลโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นกามาวจร ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่ อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และ อนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๔๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลพิจารณาอากาสานัญจายตนะ พิจารณาวิญญาณัญจายตนะ พิจารณา อากิญจัญญายตนะ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ พิจารณาทิพพจักขุ พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณ พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึง เกิดขึ้น (๒)
อธิปติปัจจัย
[๒๐๙] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น พระเสขะพิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณา โวทาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นกามาวจรให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดี เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ จึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑) [๒๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยอธิปติปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๔๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น พระอริยะออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ฯลฯ พิจารณา นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู และโวทาน โดยอธิปติปัจจัย บุคคลพิจารณาอากาสานัญจายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาวิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ เนวสัญญานา- สัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาทิพพจักขุ ฯลฯ ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น บุคคล ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ ความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ จึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่ เป็นกามาวจรโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม ที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๑๑] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกามาวจรซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ เป็นกามาวจรซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกามาวจรโดย อนันตรปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๔๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย อนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่เป็นกามาวจร อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่เป็นกามาวจร เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่เป็นกามาวจรโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมปฐมฌานเป็น ปัจจัยแก่ปฐมฌานโดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ บริกรรมจตุตถฌาน ฯลฯ บริกรรม เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บริกรรมอนาคตังสญาณเป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณโดย อนันตรปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๒) [๒๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ที่ไม่เป็นกามาวจรซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็น ปัจจัยแก่ผล เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย อนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นกามาวจร ภวังคจิตที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรเป็น ปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นกามาวจรโดยอนันตรปัจจัย (๒) ... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๑๓] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นกามาวจรแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ที่เป็นกามาวจร ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นกามาวจร ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นกามาวจร ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นกามาวจรแล้วทำฌานที่ไม่เป็น กามาวจรให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีล ที่เป็นกามาวจร ฯลฯ เสนาสนะแล้วทำฌานที่ไม่เป็นกามาวจรให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นกามาวจร ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่เป็นกามาวจร ฯลฯ ปัญญา ... มรรค และผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ จตุตถฌาน ฯลฯ อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรคเป็น ปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) [๒๑๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่เป็นกามาวจรแล้วทำฌานให้ เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่ไม่เป็นกามาวจร ฯลฯ ปัญญาแล้วทำฌานที่ไม่เป็นกามาวจรให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่เป็นกามาวจร ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ ศรัทธาที่ไม่เป็นกามาวจร ฯลฯ ปัญญา ... มรรค และผลสมาบัติ โดยอุปนิสสย- ปัจจัย ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌานโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยฌาน ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๕๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

จตุตถฌาน ฯลฯ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ทุติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่เป็นกามาวจรแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัย ศีลที่ไม่เป็นกามาวจร ฯลฯ ปัญญาแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ ศรัทธาที่ไม่เป็นกามาวจร ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นกามาวจร ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย และทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย พระอริยะอาศัยมรรคแล้วเห็น แจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ มรรคของพระอริยะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา และความเป็นผู้ฉลาดใน ฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย ผลสมาบัติเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายโดย อุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๒๑๕] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกามาวจรโดย ปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย ทิพพโสตธาตุ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรโดย ปุเรชาตปัจจัย (๒) ... เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๒๑๖] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (ย่อ) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (ย่อ) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (ย่อ) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและ ไม่เป็นกามาวจรโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (ย่อ)(๓) ... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๒๑๗] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ (ย่อ) ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น กามาวจรโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรโดยวิปปยุตต- ปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย วิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๒๑๘] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจร โดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ (เหมือนกับปุเรชาต- ปัจจัย) (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย อัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตะ (ย่อ) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (เหมือนกับวิปปยุตตปัจจัย) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่ เป็นกามาวจรโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓) [๒๑๙] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่เป็นกามาวจรโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจร และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจร และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่ กายนี้โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ เป็นกามาวจรโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกามาวจรและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) ... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๒๒๐] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ วิปากปัจจัย มี ๔ วาระ อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๒๒๑] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรโดย อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) [๒๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรโดย อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่ เป็นกามาวจรโดยสหชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นกามาวจร โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ เป็นกามาวจรโดยสหชาตปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๓. กามาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๒๒๓] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๒๒๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๕๕๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๔. รูปาวจรทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๒๒๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ (พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
กามาวจรทุกะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๕๔๕-๕๕๘. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=105              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=12430&Z=12732                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=737&items=14              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=737&items=14                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :