บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร [๓๐๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำ ออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๐๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๑)๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร [๓๐๑] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย [๓๐๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๐๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่ม ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) ... เพราะนอารัมมณปัจจัยมี ๓ วาระนอธิปติปัจจัยเป็นต้น [๓๐๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์ อาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน- รูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑) ... เพราะนอนันตรปัจจัย ... เพราะนสมนันตรปัจจัย ... เพราะนอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯนปุเรชาตปัจจัย [๓๐๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๐๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ และอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร [๓๐๕] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๐๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสหชาตวาร พึงทำอย่างนี้) ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๓๐๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับ ปฏิจจวาร) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน)ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจาก วัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต- สมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๐๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
[๓๐๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และทำมหาภูตรูปให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำ ออกจากวัฏฏทุกข์และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และทำมหาภูตรูปให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น (๓)๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร [๓๐๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๐๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัย [๓๐๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณ ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น [๓๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจาก วัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำ ออกจากจากวัฏฏทุกข์ทำขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๐๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก จากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุ กข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจาก วัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏ- ทุกข์ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร [๓๑๑] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทำอย่างนี้) ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร ๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น [๓๑๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ) วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระอนุโลม จบ นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระปัจจนียะ จบ (การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทำอย่างนี้) ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๓๑๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นเหตุนำออกจาก วัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่ม บทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย [๓๑๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค รู้จิตของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่ง สมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะพิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเหตุนำออกจาก วัฏฏทุกข์ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย อารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย อารัมมณปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย [๓๑๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย อธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำ ออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติ- ปัจจัย (๓) [๓๑๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความ ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคล ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอธิปติปัจจัย (๒)อนันตรปัจจัยเป็นต้น [๓๑๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจาก วัฏฏทุกข์ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ซึ่งเกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ โวทาน ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานา- สัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒) ... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย [๓๑๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรคเป็น ปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะอาศัยมรรคแล้วทำสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ มรรคของ พระอริยะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา และความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) [๓๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ แล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่เป็นเหตุนำ ออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัย แก่ศรัทธาที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรคโดย อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๒)ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น [๓๒๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงทำให้เหมือน กับอรูปทุกะ) เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาเสวน- ปัจจัย มี ๒ วาระกัมมปัจจัย [๓๒๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุนำออกจาก วัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่ผลโดย กัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะสหชาตะ (ย่อ) นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่ผล โดยกัมมปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระเท่านั้น ... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงทำให้เหมือนกับอรูปทุกะ) ... เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ (พึงทำให้เหมือนกับอรูปทุกะ การระบุข้อความแตกต่างกันเพียงบทเท่านั้น) ... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร [๓๒๓] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระอนุโลม จบ ๒. ปัจจนียุทธาร [๓๒๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๑๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่นำออกจาก วัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยสหชาตปัจจัย (๓) [๓๒๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยสหชาตปัจจัย และ ปุเรชาตปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉา- ชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร [๓๒๖] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ [๓๒๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม [๓๒๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระนิยยานิกทุกะ จบ เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๖๐๓-๖๒๒. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=115 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=13771&Z=14139 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=813&items=27 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=813&items=27 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]