บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑ วิภังควาร เหตุปัจจัย [๕๑] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ทำให้เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำ ให้เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)อารัมมณปัจจัย [๕๒] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ทำให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะ เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ยินดีทิฏฐิ ฯลฯ (เหมือนกับกุสลติกะ) เพราะ ปรารภวิจิกิจฉา ฯลฯ เพราะปรารภอุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งขันธ์ที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิต ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัย แก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒) [๕๓] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา อุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดย อารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ เป็นปัจจัย แก่อนาคตังสญาณและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ออก จากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมอง เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส จึงเกิดขึ้น (๒)อธิปติปัจจัย [๕๔] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำ ให้เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่นเพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียวคือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓) [๕๕] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ สหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติปัจจัย สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก จากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุ เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัยเป็นต้น [๕๖] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ทำให้เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒) [๕๗] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองซึ่งเกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองซึ่งเกิดหลังๆ ฯลฯ เป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย (๒) ... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระอุปนิสสยปัจจัย [๕๘] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้ เกิดขึ้น ... อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) [๕๙] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้ เกิดขึ้น อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ และเสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ และเสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)ปุเรชาตปัจจัย [๖๐] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ วัตถุปุเรชาตะ (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ (ย่อ) (๒)ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย [๖๑] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) ... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระกัมมปัจจัย [๖๒] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ทำให้เศร้าหมองโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ได้แก่ เจตนาที่กิเลส ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)วิปากปัจจัยเป็นต้น [๖๓] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัยวิปปยุตตปัจจัย [๖๔] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำ ให้เศร้าหมองโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)อัตถิปัจจัยเป็นต้น [๖๕] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ทำให้เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ) (๒) [๖๖] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒) ... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๖๗] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๘๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร [๖๘] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ทำให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้ เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองโดยสหชาตปัจจัย (๓) [๖๙] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาต- ปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหาร- ปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๗๐] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๙๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ [๗๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๙๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๗๙. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม [๗๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระสังกิลิฏฐทุกะ จบ เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๓๘๑-๓๙๒. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=66 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=8597&Z=8847 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=523&items=17 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=523&items=17 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]