บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ ๑. สุขายเวทนายสัมปยุตตบท ๑. ปฏิจจวาร ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย [๖๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่ง สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) [๖๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่ง สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) [๖๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๒๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ และที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (ย่อ) [๗๐] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ(อนุโลม จบ) นเหตุปัจจัยและนอธิปติปัจจัย [๗๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (๑) [๗๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๒๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่ง สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ย่อ) [๗๓] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ(ปัจจนียะ จบ) นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ อนุโลมปัจจนียะ จบ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ(ย่อ ปัจจนียานุโลม จบ) (พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร ให้พิสดารเหมือนกับปฏิจจวาร)๑. สุขายเวทนายสัมปยุตตบท ๗. ปัญหาวาร ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย [๗๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๒๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น [๗๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ [๗๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ ฯลฯอุปนิสสยปัจจัยเป็นต้น [๗๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ มี ๙ วาระ (ย่อ) [๗๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๒๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย (๓) ... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย [๗๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น เหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอวิคตปัจจัย [๘๐] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๒๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระปัจจนียุทธาร [๘๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ อุปนิสสยปัจจัย (ย่อ) [๘๒] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ(ปัจจนียะ จบ) นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ(ย่อ อนุโลมปัจจนียะ จบ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ ปัจจนียานุโลม จบ) (พึงนับเหมือนอนุโลม ปัจจนียะ อนุโลมปัจจนียะ และปัจจนียานุโลมแห่ง ปัญหาวารในกุสลติกะที่นับไว้แล้ว)๒. ทุกขายเวทนายสัมปยุตตบท ๑. ปฏิจจวาร ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย [๘๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๒๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ และที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๘๔] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๒๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ(อนุโลม จบ) นเหตุปัจจัยและนอธิปติปัจจัย [๘๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (๑) [๘๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ย่อ) [๘๗] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ(ปัจจนียะ จบ) นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ อนุโลมปัจจนียะ จบ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ(ย่อ ปัจจนียานุโลม จบ) (พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร ให้พิสดารเหมือนกับปฏิจจวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๒๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
๒. ทุกขายเวทนายสัมปยุตตบท ๗. ปัญหาวาร ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย [๘๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น เหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยเหตุปัจจัย (๓)อารัมมณปัจจัยเป็นต้น [๘๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๙๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๙๑] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ(อนุโลม จบ) ปัจจนียุทธาร [๙๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ อุปนิสสยปัจจัย (ย่อ) [๙๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ ปัจจนียะ จบ) นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ(ย่อ อนุโลมปัจจนียะ จบ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ ปัจจนียานุโลม จบ) (พึงนับเหมือนอนุโลม ปัจจนียะ อนุโลมปัจจนียะ และปัจจนียานุโลมแห่ง ปัญหาวารในกุสลติกะที่นับไว้แล้ว)๓. อทุกขมสุขายเวทนายสัมปยุตตบท ๑. ปฏิจจวาร ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย [๙๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ย่อ) [๙๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ(อนุโลม จบ) นเหตุปัจจัยและนอธิปติปัจจัย [๙๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ [๙๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ย่อ) [๙๘] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ ปัจจนียะ จบ) นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ อนุโลมปัจจนียะ จบ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ(ย่อ ปัจจนียานุโลม จบ) (พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร ให้พิสดารเหมือนกับปฏิจจวาร)๓. อทุกขมสุขายเวทนายสัมปยุตตบท ๗. ปัญหาวาร ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัยเป็นต้น [๙๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ [๑๐๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ [๑๐๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (มีเฉพาะอารัมมณาธิปติ) ฯลฯอุปนิสสยปัจจัยเป็นต้น [๑๐๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ มี ๙ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ [๑๐๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัย แก่ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ [๑๐๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ [๑๐๕] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๒. เวทนาติกะ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ(อนุโลม จบ) ปัจจนียุทธาร [๑๐๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่เป็นเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (ย่อ) [๑๐๗] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ ปัจจนียะ จบ) นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ(ย่อ อนุโลมปัจจนียะ จบ) อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ(ย่อ ปัจจนียานุโลม จบ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๓๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกติกปัฏฐาน]
๑. เหตุทุกะ ๓. วิปากติกะ
(พึงนับเหมือนอนุโลม ปัจจนียะ อนุโลมปัจจนียะ และปัจจนียานุโลมแห่ง ปัญหาวารในกุสลติกะที่นับไว้แล้ว)เหตุทุกะและเวทนาติกะ จบ เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๔ หน้าที่ ๒๒-๓๗. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=44&siri=2 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=462&Z=790 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=72 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=44&item=72&items=52 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=44&item=72&items=52 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu44
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]