ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๑ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
๔. อุปาทินนติกะ ๑๐๐. สรณทุกะ
๑ - ๗. ปฏิจจวารเป็นต้น
ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานซึ่งเป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งเป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ) (สหชาตวาร ฯลฯ ปัญหาวาร ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๗๑๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกทุกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑๐๐. สรณทุกะ

[๗๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย (๑) (ย่อ) [๗๙] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๗๑๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกทุกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑๐๐. สรณทุกะ

วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (ย่อ) (สหชาตวาร ฯลฯ สัมปยุตตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร) [๘๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้ สัตว์ร้องไห้โดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ ร้องไห้โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ ร้องไห้โดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ(ย่อ) [๘๑] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ นิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ วิปากปัจจัย มี ๖ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๒ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๔ หน้า : ๗๑๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกทุกปัฏฐาน]

๕. สังกิลิฏฐติกะ ๑๐๐. สรณทุกะ

มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๒๓ วาระ (ย่อ พึงขยายให้พิสดารเหมือนปัญหาวารในกุสลติกะ)


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๔ หน้าที่ ๗๑๔-๗๑๗. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=44&siri=205              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=14822&Z=14848                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=2787              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=44&item=2787&items=6              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=44&item=2787&items=6                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu44



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :