บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
๑. กุสลติกะ ๓. เหตุสัมปยุตตทุกะ [๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่สัมปยุตด้วยเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น กุศลซึ่งสัมปยุตด้วยเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (เหมือนกับสเหตุกทุกะ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๔๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกทุกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๔. เหตุสเหตุกทุกะ
๑. กุสลติกะ ๔. เหตุสเหตุกทุกะ [๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นเหตุและมีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นเหตุและมีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุ อาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งเป็นเหตุและมีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อกุศลซึ่งเป็นเหตุและมีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งเป็นเหตุและมีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งเป็นเหตุและมีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งเป็นเหตุและมีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ [๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นกุศลซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นกุศลซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็น เหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๕๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกทุกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๕. เหตุเหตุสัมปยุตตทุกะ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อกุศลซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นอกุศลซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็น เหตุ อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งมิใช่ไม่มีเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งมีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (ย่อ) เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ๑. กุสลติกะ ๕. เหตุเหตุสัมปยุตตทุกะ [๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่วิปปยุตจากเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่วิปปยุตจากเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่วิปปยุตจาก เหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งเป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นอย่างละ ๓ วาระ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๕๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกทุกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๖. เหตุสเหตุกทุกะ
เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ [๑๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่วิปปยุตจากเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่วิปปยุตจากเหตุและมิใช่ไม่เป็นเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่วิปปยุตจากเหตุและมิใช่ ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย (๓) ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลซึ่งสัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ ... มี ๓ วาระ ... ที่เป็นอัพยากฤต ... มี ๓ วาระ เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ๑. กุสลติกะ ๖. เหตุสเหตุกทุกะ [๑๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่ใช่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น กุศลซึ่งไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่ใช่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น กุศลซึ่งไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่ใช่มีเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) ... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศล ฯลฯ ที่ไม่เป็นอกุศล ฯลฯ อาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๓๕๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกทุกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๗. สัปปัจจยทุกะ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่ใช่มีเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ [๑๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลซึ่งไม่เป็นเหตุและมิใช่ไม่มีเหตุอาศัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตซึ่งไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระเหตุโคจฉกะ จบ เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๕ หน้าที่ ๓๔๙-๓๕๓. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=45&siri=71 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=45&A=5475&Z=5550 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45&i=885 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=45&item=885&items=7 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=45&item=885&items=7 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu45
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]