ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๖ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๓ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส

๕. ปัญจมนัย
๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
[๑๙๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับรูปขันธ์ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗ [๑๙๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๑๙๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับวิญญาณขันธ์ มนายตนะ จักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ มนินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑ [๑๙๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับจักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ จักขุธาตุ ฯลฯ โผฏฐัพพธาตุ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๔๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส

สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘ [๑๙๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับธัมมายตนะ ธัมมธาตุ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗ [๑๙๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสมุทยสัจ มัคคสัจ นิโรธสัจ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๑๙๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับจักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘ [๒๐๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๔๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส

สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๐๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑ [๒๐๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับนามรูปที่เกิดเพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗ [๒๐๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสฬายตนะที่เกิดเพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ [๒๐๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะ มีผัสสะเป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่ เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพที่เกิดเพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส

สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๐๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับอรูปภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ จตุโวการภพ อิทธิบาท สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐ [๒๐๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับอสัญญาภพ เอกโวการภพ ชาติ ชรา มรณะ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗ [๒๐๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับปริเทวะ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘ [๒๐๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับโสกะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน ฌาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา อธิโมกข์ มนสิการ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๑. ติกะ

สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๐๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับจิต สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑
๑. ติกะ
[๒๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศล สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรม ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา สภาวธรรมที่เป็นวิบาก สภาวธรรมที่ เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้า หมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาว- ธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรมที่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๑. ติกะ

สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน สภาว- ธรรมที่เป็นของเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล สภาวธรรม ที่เป็นมหัคคตะ สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรมที่มีปริตตะ เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มี อัปปมาณะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมชั้นประณีต สภาว- ธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น เหตุ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่ มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนและภาย นอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐ [๒๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ

๒. ทุกะ
[๒๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่มีเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรม ที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐ [๒๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เห็นได้ สภาวธรรมที่กระทบได้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ

สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘ [๒๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นรูป สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗ [๒๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐ [๒๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็น อารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุต ด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ สภาว- ธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ

สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐ [๒๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาว- ธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ ของปรามาส สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่ สัมปยุตด้วยปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสและไม่เป็นอารมณ์ ของปรามาส สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐ [๒๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิต สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่มี จิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่เป็นไป ตามจิต สภาวธรรมที่เป็นภายนอก สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ

สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗ [๒๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นจิต สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑ [๒๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาว- ธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นภายในตน สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ

[๒๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาว- ธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและ กิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗ [๒๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสทำให้ เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาว- ธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็น อรูปาวจร สภาวธรรมที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่เป็นเหตุ นำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่ไม่มี ธรรมอื่นยิ่งกว่า สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย]

รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๒ บท

รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๒ บท๑-
รูป ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑ อิตถินทรีย์ ๑ ปุริสินทรีย์ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑ นามรูป ๑ ภพ ๒ (อสัญญีภพและเอกโวการภพ) ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑ บทที่เป็นรูป ๑ อนารัมมณบท ๑ โนจิตตบท ๑ จิตตวิปปยุตตบท ๑ จิตตวิสังสัฏฐบท ๑ จิตตสมุฏฐานบท ๑ จิตตสหภูบท ๑ จิตตานุปริวัตติบท ๑ พาหิรบท ๑ อุปาทาบท ๑ นัย ๒๒ บทนี้เป็นวิสัยแห่งปุจฉาและวิสัชนา
อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทสที่ ๕ จบ
@เชิงอรรถ : @ ในอรรถกถาได้แสดงอุททานคาถาไว้โดยสมบูรณ์ดังนี้ :- @ รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๕๗ บท @ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๓ @อินทรีย์ ๒๒ ปฏิจจสมุปบาท ๒๓ @ ต่อจากปฏิจจสมุปบาท ๑๖ ในติกะ ๔๓ บท @ในโคจฉกะ ๗๒ บท ในจูฬันตรทุกะ ๗ @ในมหันตรทุกะ ๑๘ ปิฏฐิทุกะ ๑๘ @พึงทราบว่าที่เหลือท่านไม่กล่าวไว้ ณ ที่นี้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๑๙๓/๑๖) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า : ๕๘}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๓๖ หน้าที่ ๔๗-๕๘. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=36&siri=6              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=36&A=771&Z=959                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=36&i=189              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=36&item=189&items=35              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=317              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=36&item=189&items=35              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=317                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๖ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu36



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :