บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๒๔๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัย๑- เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็น กุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) [๒๔๔] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็น อกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) @เชิงอรรถ : @๑ อภิ.ปญฺจ.อ. ๒๔๓/๔๙๐ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
[๒๔๕] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตต- สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๓ ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุ ทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ทำมหาภูตรูป ๓ ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็น อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕) [๒๔๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศลและ มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็น อัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น กุศลและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) [๒๔๗] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอกุศลและ มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่ เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ เป็นอกุศลและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต- สมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)อารัมมณปัจจัย [๒๔๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
[๒๔๙] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) [๒๕๐] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบากให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณ ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โสตวิญญาณทำโสตายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฆานวิญญาณทำฆานายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ชิวหาวิญญาณทำชิวหายตนะให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็น อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) [๒๕๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น (๑) [๒๕๒] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
อธิปติปัจจัย [๒๕๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อธิปติปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อธิปติปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากต- กิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงขยายให้พิสดารเหมือนเหตุปัจจัย)อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย [๒๕๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย (พึงขยายให้พิสดารเหมือนอารัมมณปัจจัย)สหชาตปัจจัย [๒๕๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ สหชาตปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ ... ทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ... มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี อุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำ จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงขยายให้พิสดารเหมือนเหตุปัจจัย)อัญญมัญญปัจจัย [๒๕๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและ ที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุ ทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ ทำ มหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ ทำมหาภูตรูป ๑ ให้เป็นปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำ จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงขยายให้พิสดารเหมือนอารัมมณปัจจัย)นิสสยปัจจัย [๒๕๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงขยายให้พิสดารเหมือนสหชาตปัจจัย)อุปนิสสยปัจจัย [๒๕๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะอุปนิสสยปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... (ปัจจัยนี้เหมือนกับ อารัมมณปัจจัย)ปุเรชาตปัจจัย [๒๕๙] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ ปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ ปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ ปุเรชาตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็น อัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย จักขุวิญญาณ ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ ปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ ปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย (๑)อาเสวนปัจจัย [๒๖๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ฯลฯ (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) ... ทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯกัมมปัจจัย [๒๖๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ กัมมปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำ กายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๓๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ กัมมปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๕) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นกุศล และที่เป็นอัพยากฤต ... ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ กัมมปัจจัย ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ... ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ กัมมปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทัยวัตถุ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)วิปากปัจจัย [๒๖๒] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็น อัพยากตวิบากทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นอาหารปัจจัย [๒๖๓] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อาหารปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ... มี ๓ วาระ ... ทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ... มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ที่มีอาหารเป็น สมุฏฐาน ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ ทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากต- กิริยาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (บริบูรณ์แล้ว)อินทรียปัจจัย [๒๖๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อินทรียปัจจัย ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงขยายอินทรียปัจจัยให้พิสดารเหมือนกับกัมมปัจจัย)ฌานปัจจัยและมัคคปัจจัย [๒๖๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ ฌานปัจจัย ฯลฯ เพราะมัคคปัจจัย (พึงขยายฌานปัจจัยและมัคคปัจจัยให้พิสดารเหมือนกับเหตุปัจจัย)สัมปยุตตปัจจัย [๒๖๖] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ สัมปยุตตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย)วิปปยุตตปัจจัย [๒๖๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็น กุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากให้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูปทำขันธ์ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ... ทำ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูป ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตต- ปัจจัย จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำ กายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ วิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศล และมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็น อัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ เป็นกุศลและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ ทำขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต- สมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอกุศล และมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตทำสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่ เป็นอัพยากฤตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
เป็นอกุศลและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย (๓)อัตถิปัจจัยเป็นต้น [๒๖๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลทำสภาวธรรมที่เป็นกุศลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อัตถิปัจจัย ฯลฯ (อัตถิปัจจัยพึงแจกเหมือนสหชาตปัจจัย นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัย พึงแจกเหมือนอารัมมณปัจจัย อวิคตปัจจัยพึงแจกเหมือนสหชาตปัจจัย)๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร [๒๖๙] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระเหตุทุกนัย [๒๗๐] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระติกนัย อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย และอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ (ทุกปัจจัยมี ปัจจัยละ ๗ วาระ) วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ ฯลฯทวาทสกนัย (สาเสวนะ) กัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตรปัจจัย สมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ ฯลฯพาวีสกนัย อวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย อาเสวนปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย ฯลฯ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระเตรสกนัย (สวิปากะ) อาหารปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย กัมมปัจจัย และวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระพาวีสกนัย (สวิปากะ) อวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย กัมมปัจจัย วิปากปัจจัย อาหารปัจจัย ฯลฯ วิคตปัจจัย มี ๑ วาระเหตุมูลกนัย จบ อารัมมณทุกนัย [๒๗๑] เหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ (พึงขยายอารัมมณมูลกนัยให้พิสดารเหมือนเหตุมูลกนัย)อธิปติทุกนัย [๒๗๒] เหตุปัจจัย กับอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
อนันตระและสมนันตรทุกนัย [๒๗๓] เหตุปัจจัย กับอนันตรปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯทุกนัยมีสหชาตปัจจัยเป็นต้น [๒๗๔] เหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับนิสสยปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
มัคคปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯกัมมะและวิปากทุกนัย [๒๗๕] เหตุปัจจัย กับกัมมปัจจัย ฯลฯ เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๔๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๓. ปัจจยวาร
สัมปยุตตปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯทุกนัยมีอาหารปัจจัยเป็นต้น [๒๗๖] เหตุปัจจัย กับอาหารปัจจัย ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอินทรียปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับฌานปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับอัตถิปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับนัตถิปัจจัย ... เหตุปัจจัย กับวิคตปัจจัย ฯลฯ เหตุปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระอนุโลมในปัจจยวาร จบ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๑๕๐}
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๑๓๑-๑๕๐. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=32 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=2947&Z=3356 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=246 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=246&items=37 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=11064 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=246&items=37 The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=11064 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]