ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๕๑] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะนเหตุ- ปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๓๕๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะ นอธิปติปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคน กับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
นปัจฉาชาตปัจจัย
[๓๕๓] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย
[๓๕๔] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะนกัมม- ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นกุศลเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นกุศล (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๑๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นอกุศล (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นอัพยากต- กิริยา (๑)
นวิปากปัจจัย
[๓๕๕] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศล ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตกิริยา (นกัมมปัจจัยและนวิปากปัจจัยในปัจจนียวิภังค์สังสัฏฐวารไม่มีปฏิสนธิ มีแต่ ่ในปัจจัยที่เหลือ)
นฌานปัจจัย
[๓๕๖] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)
นมัคคปัจจัย
[๓๕๗] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง เป็นอัพยากตวิบากและอัพยากตกิริยา ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ใน ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นวิปปยุตตปัจจัย
[๓๕๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกุศลเพราะนวิป- ปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเพราะนวิปปยุตต- ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเพราะ นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (ไม่มีปฏิสนธิในนวิปปยุตตปัจจัย) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๓๕๙] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นเหตุทุกนัย
[๓๖๐] นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ติกนัย
นปุเรชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ
จตุกกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ ฯลฯ
ฉักกนัย
นกัมมปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาต- ปัจจัย และนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
สัตตกนัย
นวิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาต- ปัจจัย นอาเสวนปัจจัย และนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ
นวกนัย
นวิปปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย และนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติทุกนัย
[๓๖๑] นเหตุปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นกัมมปัจจัย กับนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ติกนัย
นปุเรชาตปัจจัย กับนอธิปติปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ (ย่อ)
นปุเรชาตทุกนัย
[๓๖๒] นเหตุปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนปุเรชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ (ย่อ)
นปัจฉาชาตะและนอาเสวนทุกนัย
[๓๖๓] นเหตุปัจจัย กับนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นวิปากปัจจัย กับนอาเสวนปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ (ย่อ)
นกัมมทุกนัย
[๓๖๔] นเหตุปัจจัย กับนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนกัมมปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ (ย่อ)
นวิปากทุกนัย
[๓๖๕] นเหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นปุเรชาตปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
สัตตกนัย
นกัมมปัจจัย กับนวิปากปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย และนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ (ย่อ)
นฌานทุกนัย
[๓๖๖] นเหตุปัจจัย กับนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
ฉักกนัย
นมัคคปัจจัย กับนฌานปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย และนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคทุกนัย
[๓๖๕] นเหตุปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นปุเรชาตปัจจัย กับนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (ย่อ)
นวิปปยุตตทุกนัย
[๓๖๘] นเหตุปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัยและนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นวกนัย
นมัคคปัจจัย กับนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย และนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
ปัจจนียะ จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๒๑๙-๒๒๙. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=38              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=4932&Z=5164                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=401              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=401&items=31              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=11213              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=401&items=31              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=11213                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :