ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็น อารมณ์เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) [๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น อธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) [๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดี เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น อธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๕) [๔] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัย ขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๕] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค เป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรค เป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น อธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๖] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิด ขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตร- ปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๗] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิด ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมีมรรคเป็น อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรค เป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) [๑๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็น เหตุเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุ เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค เป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น (๓) [๑๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็น อธิบดีเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็น อธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดี เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๔) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี มรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น (๕) [๑๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็น อารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัย ขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๑๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ อาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี อาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรค เป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มี มรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็น อธิบดีเกิดขึ้น (๓)
นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิด ขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย (พึงทำให้บริบูรณ์ทั้ง ๒ วาระ)
นอาเสวนปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็น อารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มี มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๑๖] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะ นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็น อธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) [๑๗] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรค เป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอธิบดี อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีมรรคเป็นอารมณ์และ ที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
นกัมมปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยขันธ์ที่มีมรรค เป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอารมณ์ และที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น (๓) [๑๙] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิด ขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มี มรรคเป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มี มรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็นเหตุเกิดขึ้น (๓) [๒๐] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีเกิด ขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีมรรคเป็นอธิบดีอาศัยขันธ์ที่มีมรรคเป็น อธิบดีเกิดขึ้น (มี ๕ วาระ) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์และที่มี มรรคเป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย (ฆฏนาที่ ๑ มี ๓ วาระ) สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุและที่มีมรรค เป็นอธิบดีเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย (ฆฏนาที่ ๒ มี ๓ วาระ)
นวิปากปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (พึงทำให้บริบูรณ์) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นมัคคปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งมี มรรคเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
นวิปปยุตตปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์อาศัยสภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย (พึงทำให้บริบูรณ์ พึงกำหนดแน่นอนว่าเป็นอรูป)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๒๔] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๒๕] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๖. มัคคารัมมณติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๒๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจยานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร เหมือน กับปฏิจจวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓๒}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๕๒๒-๕๓๒. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=37              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=12379&Z=12628                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1768              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1768&items=28              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12749              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1768&items=28              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12749                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.17/en/narada



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :