![]() |
|
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
![]() |
![]() |
๑๒. โลกิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๑๓๓] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๗๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๑๒. โลกิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๓๔] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น โลกุตตระเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นโลกุตตระและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๑๓๕] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๘๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๑๒. โลกิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๕ วาระ ฌานปัจจัย มี ๕ วาระ มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระอนุโลม จบ ๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัย [๑๓๖] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็น โลกิยะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (ย่อ)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๑๓๗] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๘๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๑๒. โลกิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ (ในสุทธนัยที่เป็นโลกุตตระซึ่งมีนอาเสวนปัจจัยเป็นมูล พึงกำหนดว่า เป็น วิบาก ที่เหลือเป็นไปตามปกตินั่นเอง) นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระปัจจนียะ จบ ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ เหตุทุกนัย [๑๓๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ (บทที่มีนอนันตรปัจจัยเป็นต้นเหมือนกับปัจจนียะ) ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า : ๑๘๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๑๒. โลกิยทุกะ ๓. ปัจจยวาร
นวิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระอนุโลมปัจจนียะ จบ ๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม นเหตุทุกนัย [๑๓๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระปัจจนียานุโลม จบ (สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร) เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๒ หน้าที่ ๑๗๙-๑๘๓. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=42&siri=30 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=4959&Z=5046 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=290 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=42&item=290&items=6 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12782 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=42&item=290&items=6 The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12782 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu42
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
![]() |
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]