![]() |
|
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
![]() |
![]() |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๑. อุปาทานโคจฉกะ ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๑] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ทิฏฐุปาทานอาศัย กามุปาทานเกิดขึ้น กามุปาทานอาศัยสีลัพพตุปาทานเกิดขึ้น สีลัพพตุปาทาน อาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น กามุปาทานอาศัยอัตตวาทุปาทานเกิดขึ้น อัตตวาทุปาทาน อาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทาน สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ... อาศัยกามุปาทาน ฯลฯ (พึงทำเป็น จักกนัยทั้งหมด) (๓) [๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ อุปาทานอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อุปาทาน และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) [๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานอาศัยทิฏฐุปาทานและ สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัยทั้งหมด) (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทาน อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน และที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ กามุปาทาน และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)อารัมมณปัจจัย [๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ พึงเว้นรูป)๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร [๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ) วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัย [๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ ซึ่งไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น อเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็น สมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น (๑)นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น [๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่ม ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๘๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและ สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) ... เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัยนปุเรชาตปัจจัย [๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ กามุปาทานอาศัยอัตตวาทุปาทานเกิดขึ้น อัตตวาทุปาทานอาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยอุปาทานเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (ย่อ มี ๙ วาระ ในอรูปาวจรภูมิ มีอุปาทาน ๒)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร สุทธนัย [๙] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๙๐}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ [๑๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๒๙๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]
๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม [๑๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ) มัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร ผู้รู้เมื่อจะจำแนกทิฏฐุปาทาน พึงเพิ่มคำว่า กามุปาทานที่เกิดร่วมกัน)เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๒๘๗-๒๙๒. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=44 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=6353&Z=6479 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=390&items=9 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=390&items=9 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
![]() |
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]