บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ ติกปัฏฐาน __________ ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัย [๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น ฯลฯ (๔) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลเกิดขึ้น (๕) [๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๑}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๕) [๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และที่เป็นอัพยากตกิริยาเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นอัพยากตวิบาก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยา ฯลฯ (๓) (ย่อ) [๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็น อัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๒}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่ เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (๓) (จิตตสมุฏฐานรูปเท่านั้นเป็นไปในวาระนี้ พึงเพิ่มเป็น ๑๙ วาระ)อารัมมณปัจจัย [๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย (๓) ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๓}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย มี ๑๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๙ วาระ ฯลฯ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๑๙ วาระปัจจนียะ-นเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย [๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอัพยากฤตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเกิดขึ้นเพราะ นเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย (๓) [๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ- ปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๔}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกุศลเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ- ปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ- ปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย (๓) (ย่อ) นเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๙ วาระ ฯลฯ นกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ นอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ โนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ (พึงขยายปัจจนียะให้พิสดาร พึงขยายสหชาตวารและปัจจยวารให้พิสดาร ในปัจจยวาร เหตุปัจจัย มี ๒๖ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑๘ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๒๖ วาระ นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตวารเหมือนกับ ปฏิจจวาร)๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร ปัจจยจตุกกนัย - เหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย [๘] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]
๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็น อัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็นอกุศลโดย เหตุปัจจัย (๕) [๙] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลและที่ไม่เป็น อัพยากฤตโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็น อกุศลโดยเหตุปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลโดยเหตุปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลและที่ไม่เป็น อกุศลโดยเหตุปัจจัย (๓) [๑๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกุศลโดยอารัมมณ- ปัจจัย (มี ๖ วาระ) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอกุศลโดยอารัมมณปัจจัย (มี ๖ วาระ) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอัพยากฤตโดย อารัมมณปัจจัย (มี ๖ วาระ ย่อ) [๑๑] เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๑๘ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๕ หน้า : ๒๑๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลมปัจจนียะ [ติกปัฏฐาน]
๒. เวทนาติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๒๖ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๘ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ มัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๒๖ วาระ (พึงขยายปัญหาวารให้พิสดาร)เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๕ หน้าที่ ๒๑๑-๒๑๗. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=45&siri=40 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=45&A=3307&Z=3441 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45&i=521 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=45&item=521&items=18 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=45&item=521&items=18 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu45
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]