ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถึอและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๗๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทาน เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่กรรมประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๗๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและ อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น
อารัมมณปัจจัย
[๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ ... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย
[๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ ยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทาน ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตต- สมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มี อาหารเป็นสมุฏฐาน .... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ... มี ๓ วาระ ... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
อัญญมัญญปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา และทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิด ขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) ... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี อุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑) ... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นิสสยปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย
[๖] ... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทาน ... เพราะนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ... เพราะอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ แต่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ฯลฯ (๑)
กัมมปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะกัมมปัจจัย (มี ๙ วาระ เหมือนกับเหตุปัจจัย)
วิปากปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทาน เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทรียปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย (พึงขยายให้พิสดารเหมือนปฏิจจวารแห่งกุสลติกะที่ท่านขยายให้พิสดารตาม แนวทางแห่งการสาธยาย)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๒] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
เหตุทุกนัย
อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ (พึงนับเหมือนการนับปฏิจจะในกุสลติกะที่นับไว้ตามแนวทางแห่งการสาธยาย)
อนุโลม จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน รูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์อุปาทานเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ ของอุปาทาน ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่ เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ปฏิสนธิบริบูรณ์แล้ว) มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

... อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทาน ... มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทานและ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ฯลฯ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๘๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นกัมมปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด ถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยขันธ์ที่กรรมอัน ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ... ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบ ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศล ซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เกิดขึ้น (๑)
นวิปากปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ สำหรับเหล่าอสัญญ- สัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๙๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ที่เป็นกุศลซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอาหารปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ สำหรับเหล่าอสัญญสัตต- พรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
นอินทรียปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ สำหรับเหล่าอสัญญ- สัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๙๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
นฌานปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มี อาหารเป็นสมุฏฐาน ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
นมัคคปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อเหตุกะซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน เกิดขึ้น มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนสัมปยุตตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนอารัมมณ- ปัจจัย) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๙๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวิปปยุตตปัจจัย
[๒๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของ อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... อาศัย มหาภูตรูป ๑ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
โนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็นอารมณ์ ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและเป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย (พึงขยายให้พิสดารเหมือนปัจจนียวารในกุสลติกะ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๙๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๒๖] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๒ วาระ นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
นเหตุทุกนัย
นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๙๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ นฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ (พึงนับเหมือนในกุสลติกะ)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๒๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๖ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๖ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ โนวิคตปัจจัย ” มี ๖ วาระ (พึงนับเหมือนอนุโลมปัจจนียะในกุสลติกะ)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๙๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๔. อุปาทินนติกะ ๒. สหชาตวาร

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๒๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ สหชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ ฌานปัจจัย ” มี ๕ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับเหมือนปัจจนียานุโลมในกุสลติกะ)
ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๗๗๘-๗๙๖. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=171              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=18217&Z=18518                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1418              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1418&items=36              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12689              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1418&items=36              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12689                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.5/en/narada



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :